หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)
วันนี้ผมจะมาอธิบายและไขข้อข้องใจของเพื่อนๆ เมื่อเพื่อนๆ มีโอกาสเปิดดูแบบงานวิศวกรรมระบบต่างๆ เช่น วิศวกรรมงานระบบสุขาภิบาล วิศวกรรมระบบไฟฟ้ากำลังและการสื่อสาร เป็นต้น เพื่อนๆ อาจจะพบว่าแบบเหล่านี้จะค่อนข้างมีความแตกต่างออกไปจากแบบอื่นๆ ค่อนข้างมาก ซึ่งแบบส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยแปลนเป็นส่วนใหญ่ และ หลายๆ ครั้งก็จะพบว่าแบบวิศวกรรมงานระบบเหล่านี้บางครั้งก็จะพบว่ามีหลายๆ ส่วนของแต่ละแบบที่มีการซ้อนทับกันเอง เช่น แบบวิศวกรรมระบบไฟฟ้ากำลังเกิดการตัดกันกับแบบวิศวกรรมระบบไฟฟ้าสื่อสาร หรือ แบบวิศวกรรมระบบไฟฟ้าแสงสว่างเกิดการตัดกันกับแบบวิศวกรรมระบบเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น เพื่อนๆ เคยนึกสงสัยกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ? และในสถานการณ์จริงๆ เค้ารับมือกับเหตุการณ์แบบนี้อย่างไรกัน ?
เพื่อนๆ ต้องเข้าใจเสียก่อนว่าสาเหตุที่หลายๆ ส่วนของแต่ละแบบของงานระบบเหล่านี้มีการซ้อนทับกันเองนั่นเป็นเพราะว่า จริงๆ แล้วงานระบบไม่ใช่งานหลักของอาคารแตกต่างออกไปจากงานสถาปัตยกรรมและงานวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งหากถามว่าหากขาดงานระบบใดระบบหนึ่งไป อาคารหรือสิ่งก่อสร้างนั้นๆ จะสามารถก่อสร้างให้สำเร็จและสามารถเปิดใช้งานได้หรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ นะครับ แต่ นั่นเป็นเพราะส่วนประกอบของแบบงานระบบนั้นจะมีขนาดที่ค่อนข้างเล็ก เช่น สายไฟ สายท่อปรับอากาศ ท่อน้ำดี ท่อน้ำเสีย เป็นต้น ดังนั้นพอองค์ประกอบเหล่านี้มาตัดกันที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งเราสามารถที่จะทำให้ชิ้นส่วนของงานระบบรองนั้นหลบชิ้นส่วนของงานระบบหลักได้นะครับ (ดูจากภาพประกอบได้นะครับ)
สรุปนะครับ หากว่าต่อๆ ไปเพื่อนๆ มีโอกาสได้ไปเปิดดูแบบก่อสร้างในโครงการต่างๆ และบังเอิญไปพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้อีก ผมก็ขอให้คำแนะนำว่าอย่าเพิ่งตกอกตกใจไป อย่าเพิ่งรีบโทษว่าวิศวกรงานระบบนั้นออกแบบหรือเขียนแบบมาผิดหรืออะไรทำนองนั้นนะครับ เพราะจริงๆ แล้วงานระบบจะมีลักษณะที่พิเศษแตกต่างออกไปจากแบบสถาปัตยกรรมและแบบวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
สปันไมโครไพล์แท้:
1. แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm. หรือ 22 cm.
แนวทแยง รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น
2. แบบกลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น
3. แบบกลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น
4. แบบกลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น
ภาพตัวอย่างการตอกเสาเข็ม https://bit.ly/2xc1MFJ
ขอแนะนำเสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ซึ่งได้ ISO 9001:2015 ทั้งกระบวนการตอกและการผลิต พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ ตาม ตย. วีดีโอ https://youtu.be/iJr3dLtYAuA หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม
Bhumisiam ภูมิสยาม
ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile
1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015
2) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 UKAS ภายใต้การดูแลของ อังกฤษ
3) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 NAC ภายใต้การดูแลของ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
4) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, 25, 30 cm.
5) ผู้ผลิต Spun MicroPile ที่ได้รับ Endorsed Brand รับรองคุณภาพมาตรฐานจาก SCG
6) ผู้นำระบบ Computer ที่ทันสมัยผลิต เสาเข็ม Spun MicroPile
7) ลิขสิทธิ์เสาเข็ม Spun MicroPile
8) เทคโนโลยีการผลิต จากประเทศเยอรมัน
9) ผู้ผลิต Spun MicroPile แบบ “สี่เหลี่ยม”
10) การผลิตคอนกรีตและส่วนผสม ใช้ Program SCG-CPAC
เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ช่วยแก้ปัญหาได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. โทร
☎081-634-6586
☎082-790-1447
☎082-790-1448
☎082-790-1449
#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #เสาเข็มสปันไมโครไพล์ #เสาเข็ม #ตอกเสาเข็ม #micropile #spunmicropile #microspunpile #spunpile #microspun