มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ? เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ เราจะทำการแก้ไขปัญหานี้ได้ค่อนข้างยากเอาเรื่องอยู่นะครับ ดังนั้นหนทางที่ดีที่สุด คือ เราก็ควรที่จะป้องกันไม่ให้ปัญหานี้เกิดขึ้นก็จะเป็นการดีที่สุดนั่นเองนะครับ ผมขออนุญาตตอบคำถามเพื่อนท่านนี้ดังนี้ก็แล้วกันนะครับ นอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว ไม่ว่าจะโดยวิธี STATIC LOAD TEST หรือ … Read More

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ประการแรกนะครับ เพื่อนๆ ควรที่จะให้วิศวกรทำการคำนวณหา นน บรรทุกที่จะลงมายังเสาเข็มของเพื่อนๆ เสียก่อน ซึ่งโดยปกติแล้วหากเราจะทำการต่อเติมอาคารบ้านเรือนของเรา จะ 1 ชั้น 2 ชั้น หรือว่า 3 ชั้น ก็แล้วแต่ หากวิศวกรเลือกวางระยะห่างของตอม่อให้มีความปกติ หรือ … Read More

ความรู้ทางด้าน การทดสอบ เสาเข็ม

ความรู้ทางด้าน การทดสอบ เสาเข็ม ความรู้ในวันนี้เป็นความรู้เชิงประสบการณ์โดยส่วนตัวของผม เนื่องจากผมได้มีโอกาสร่ำเรียนมาและประกอบวิชาชีพเป็นวิศวกรโครงสร้างเป็นหลัก มิใช่เป็นวิศวกรธรณีเทคนิคแต่อย่างใดนะครับ ดังนั้นประสบการณ์ที่ผมจะนำมาถ่ายทอดในวันนี้เกิดจากกระบวนการๆ เรียนรู้และได้มีโอกาสทำการพูดคุยแลกเปลี่ยนและสอบถามจากวิศวกรธรณีเทคนิค ผ่านการทำงานภายใต้สถานการณ์จริงๆ บางค่าบางคำตอบที่ผมได้ให้ไปในวันนี้อาจจะไม่ได้มีมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งมารับรองแต่ในทางปฏิบัตินั้นผมได้ทดลองทำด้วยตัวเองมาแล้วจึงคิดว่าน่าจะนำประสบการณ์จริงตรงนี้ของผมมาเล่าให้ฟังได้เพียงแต่ผมจะต้องเรียนกับเพื่อนๆ ให้เข้าใจเสียก่อนว่าข้อมูลในวันนี้เป็นประสบการณ์ส่วนตัวเป็นหลัก และ การอธิบายในวันนี้จะเป็นไปโดยสังเขปเพียงเท่านั้น เพราะ หากจะให้อธิบายขั้นตอนต่างๆ ในการทดสอบจริงๆ โดยละเอียดนั้นเป็นไปไม่ได้จริงๆ เพราะ พื้นที่ในการโพสต์ตรงนี้จะมีน้อยเกินไป จึงทำให้ไม่สามารถที่จะทำการอธิบายขั้นตอนการทดสอบโดยละเอียดได้จริงๆ … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก เมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น BALANCE METHOD เป็นต้น เพื่อที่จะให้เหล็กเสริมเหล่านี้ไปทำหน้าที่ในการต้านทานการเกิดโมเมนต์ดัดในฐานราก หรือ ต้านทานการหดตัวในฐานรากก็ตามแต่ มาตรฐาน ACI ได้ทำการอนุญาตให้เราสามารถทำการกระจายเหล็กเสริมเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอในหน้าตัดได้ ซึ่งรวมไปถึงกรณีที่เราได้ทำการออกแบบฐานรากโดยวิธีพิเศษก็ตาม เช่น STRUT AND TIE METHOD หรือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า)

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING เราจะต้องทำการคำนวณค่า LATERAL STIFFNESS จากสัดส่วนของค่า VERTICAL STIFFNESS นะครับ สำหรับในกรณีที่เรานั้นไม่มีข้อมูลการทดสอบชั้นดิน (SOIL … Read More

ค่าตัวประกอบกำลังส่วนเกิน หรือ OVERSTRENGTH FACTOR (Ωo)

ค่าตัวประกอบกำลังส่วนเกิน หรือ OVERSTRENGTH FACTOR (Ωo) ค่า OVERSTRENGTH FACTOR นี้มีความสำคัญต่อการป้องกันมิให้อาคารนั้นพังทลายลงเนื่องจากความไม่แน่นอนต่างๆ ในกระบวนการออกแบบ และ การก่อสร้าง ซึ่งสามารถจะเขียนให้อยู่ในรูปแบบอัตราส่วนระหว่างค่าแรงเฉือนที่ฐานภายใต้พฤติกรรมที่จุดครากจริง (Vy) ต่อค่าแรงเฉือนที่ฐานสำ หรับใช้ในการออกแบบ (Vd) หรือเขียนง่ายได้ว่าเท่ากับ Ωo = … Read More

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดน่าสนใจและเรียนรู้แล้วได้ประโยชน์มากกว่ากัน

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดน่าสนใจและเรียนรู้แล้วได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More

กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS)

สวัสดีครับ Mr.เสาเข็ม มาพร้อมสาระความรู้ดีดี กันอีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) โดยเรื่องที่ผมจะมากล่าวถึงในวันนี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN) นั่นเองนะครับ โดยปกติแล้วทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์หาค่าผลการตอบสนองของโครงสร้างต่อ แรงกระทำ นั้นจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของค่าหน่วยแรง (STRESS) ที่เรามักจะทำการแทนค่าๆ … Read More

วิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ จนตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

ช่วงบ่ายๆแบบนี้เป็นเวลาดีนะครับ ที่ Mr.เสาเข็ม จะมาแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรมนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของวิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ จนตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก เป็นต้น โดยหากในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มนั้นเกิดการแตกหัก หรือ … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกันอีกแล้ว ในช่วง 4 โมง แบบนี้นะครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากอีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = … Read More

1 2 3 4 5 6