รอยต่อที่ทำหน้าที่ตัดแยกโครงสร้างพื้น กับโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งมีการวางตัวอยู่บนโครงสร้างฐานรากแบบมีเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   ผมเคยมีโอกาสได้ทำการโพสต์ถึงเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อสร้างพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบชนิดวางบนไปหลายครั้งแล้วก่อนหน้านี้ ซึ่งในการโพสต์ครั้งก่อนๆ นี้ผมได้ทำการพูดถึงจุดต่อหรือ JOINT แบบต่างๆ เช่น รอยต่อที่ทำหน้าที่ป้องกันการหดตัวของโครงสร้างพื้นวางบนดิน หรือ CONTRACTION JOINT รอยต่อที่ทำหน้าที่ป้องกันการขยายตัวของโครงสร้างพื้นวางบนดิน … Read More

คำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ผมเชื่อว่าเวลาที่เพื่อนๆ ทุกคนได้อ่านข้อมูลจากแบบก่อสร้างไม่ว่าจะเป็นแบบสถาปัตยกรรมก็ดีหรือว่าแบบวิศวกรรมโครงสร้างก็ดี เพื่อนหลายๆ คนคงจะเคยเห็นอักษรย่อในภาษาอังกฤษว่า “FFL. xxx” และ “SFL. xxx” ที่จะอ้างอิงลงไปที่ตำแหน่งของระดับ “พื้น” … Read More

วิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อช่วงสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์คลิปเพื่อแสดงวิธีในการแก้ปัญหาข้อที่ 6.14 ซึ่งเป็นปัญหาท้ายบทที่ 6 จากหนังสือ DYNAMICS OF STRUCTURES เขียนโดย ANIL K. CHOPRA ซึ่งหนังสือเล่มนี้ที่ผมเลือกนำมาใช้จะเป็นหนังสือฉบับ EDITION ที่ 3 นะครับ   … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่แล้วผมได้ทำการจบหัวข้อในเรื่องของการพูดถึงในเรื่อง ADVANCED METHOD FOR STRUCTURAL ANALYSIS ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและในโพสต์ของวันอังคารผมก็ยังไม่ได้ทำการขึ้นหัวข้อใหม่แต่อย่างใด ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตพื้นที่ในโพสต์ๆ นี้เพื่อที่จะเป็นการเล่าและก็ทำการสรุปในเรื่องของ STRUCTURAL ANALYSIS METHOD … Read More

ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปเกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงที่ผมได้พักผ่อนอยู่บ้านจากสถานการณ์ไวรัสโควิด 19 ที่ผ่านมานี้ผมได้มีการพูดคุยสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กันกับรุ่นน้องวิศวกรเครื่องกลท่านหนึ่งที่เพิ่งจบการศึกษามาได้ไม่นาน พวกเราก็ได้พูดคุยกันในหลายๆ ประเด็นเลย ซึ่งก็น่าจะเป็นการดีและมีประโยชน์ต่อการทำงานของน้องเค้าในอนาคตแต่แล้วก็มีคำถามๆ หนึ่งที่น้องเค้าได้สอบถามผมมา ซึ่งในตอนแรกผมก็นึกตลกในคำถามๆ นี้แต่พอคิดไปคิดมาก็เลยเข้าใจได้ว่า สาเหตุที่น้องท่านนี้ถามคำถามข้อนี้มาเพราะน้องเค้าเพิ่งจะเริ่มต้นอาชีพการเป็นวิศวกรมาได้ไม่นานเท่าใดนัก … Read More

การจำแนกประเภทของการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ไปในหัวข้อ ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ซึ่งเนื้อหาจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยว เลยทำให้ผมนึกถึงคำถามที่ผมเคยได้รับมาสักพักก่อนนี้ว่า   “หากเราทำการทดสอบและคำนวณดูแล้วพบว่า เสาเข็มของเราจะมีทั้งความสามารถในการรับแรงเนื่องจากทั้งแรงฝืดและแรงแบกทานในเวลาเดียวกัน … Read More

ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว ของตัวเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในหลายๆ โพสต์ที่ผ่านมาที่เราพูดถึงโครงสร้างเสาเข็มแบบกลุ่มหรือ PILE GROUP เราได้ทำการพูดและพิจารณาถึงเฉพาะ “ค่าความสามารถในการรับกำลัง” ของตัวเสาเข็มกลุ่มเพียงเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เกิดความครบถ้วนในเรื่องๆ นี้จริงๆ ผมจำเป็นที่จะต้องพูดถึงถึง “ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว” ของตัวเสาเข็มกลุ่มด้วยนะครับ … Read More

การคำนวณหา ค่ากำลังรับแรงแบกทาน ของเสาเข็มกลุ่มเมื่อต้องฝังตัวอยู่ในในดินเหนียว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมก็จะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหา ค่ากำลังรับแรงแบกทาน ของเสาเข็มกลุ่มเมื่อต้องฝังตัวอยู่ในในดินเหนียว โดยที่ผมจะอาศัยทั้ง วิธีการคำนวณแบบไม่ละเอียด และ วิธีการคำนวณแบบละเอียด และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูข้อมูลของตัวอย่างข้อนี้กันเลยดีกว่านะครับ   … Read More

วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่ค่าการโก่งตัวนั้นเกิดขึ้นสูงที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากในสัปดาห์นี้น่าจะเป็นช่วงของการสอบไฟนอลของน้องๆ นักศึกษาหลายๆ คน ผมจึงอยากจะขอแทรกการโพสต์ในวันนี้ด้วยการตอบคำถามของน้องนักศึกษาท่านหนึ่งที่ตอนนี้กำลังอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบในวิชา ทฤษฎีโครงสร้าง โดยที่ผมได้ทำการสรุปใจความของปัญหาของน้องท่านนี้ได้ดังนี้ครับ “ตอนนี้กำลังเจอกับปัญหาว่า หากผมมีความจำเป็นที่จะต้องทำการใช้วิธีการจำพวก GRAPHICAL METHOD เช่น วิธีการ CONJUGATE BEAM METHOD หรือวิธีการ MOMENT AREA … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งเกร็งของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอาทิตย์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะมาพูดคุยและเสวนากันถึงคำตอบในหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่เมื่อวานนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับ ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม และก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   หากผมมีโครงสร้างเสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่มีรูปทรงเป็นหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดความกว้างและความลึกของหน้าตัดเท่ากับ 230 มม โดยที่เสาเข็มต้นนี้ใช้คอนกรีตที่มีกำลังอัดประลัยของคอนกรีตตัวอย่างรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 29