กรณีที่ฐานรากแบบเสาเข็มเดี่ยวนั้น ต้องรับน้ำหนักแบบเยื้องศูนย์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นแปลนของโครงสร้างฐานราก F1a และ F1b นั้นวางห่างกันเท่ากับระยะ … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุม ของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณเรื่องเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิดเอามาฝากแก่เพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์ก็แล้วกันและเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูกรณีของการเสริมเหล็กในครั้งนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ผมมีพื้นๆ หนึ่งที่มีการเสริมเหล็กใน 1 ชั้น ซึ่งเหล็กบนจะเท่ากับ DB12mm@150mm ส่วนเหล็กล่างจะเท่ากับ DB12mm@200mm … Read More

เหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้ทำความรู้จักไปพร้อมกัน … Read More

ค่าสัดส่วนของการหน่วงในโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ในเรื่องวิศวกรรมพลศาสตร์ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมให้รายชื่อประเภทของโครงสร้างมาดังต่อไปนี้ โครงสร้างเหล็ก โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้างไม้ จงทำการเรียงลำดับประเภทของโครงสร้างที่จะมีค่าสัดส่วนของความหน่วง หรือ DAMPING RATIO … Read More

ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก บนชั้นดินอ่อนและความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกันกับปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนพื้นที่ๆ มีชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อนนั่นและเพราะเหตุใดการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินนั้นจึงมีความสำคัญมาก นั่นก็คือ การวิบัติของโครงสร้างเนื่องจากชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อน เอามาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านเพื่อเป็นวิทยาทานกันนะครับ จากรูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์เพื่อเป็นการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่อง เหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อนหรือว่า HOT ROLLED STEEL และ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า COLED FORM STEEL … Read More

การเลือกขนาดของความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสออกไปทำการตรวจงานการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและได้มีการพูดคุยกับวิศวกรที่หน้างาน ซึ่งทางวิศวกรท่านนี้ได้สอบถามคำถามๆ หนึ่งซึ่งผมคิดว่ามีความน่าสนใจนั่นก็คือ   “เพราะเหตุใดผมจึงได้เลือกทำการออกแบบและกำหนดให้มีการใช้เหล็กแผ่นที่ค่อนข้างจะมีความหนามากสักหน่อยในการก่อสร้างโครงสร้างส่วนที่เป็น CANOPY บริเวณภายนอกของอาคาร โดยจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเหล็กแผ่นส่วนนี้จะมีขนาดของความหนามากกว่าตรงส่วนอื่นๆ ค่อนข้างมากเลยครับ ?”   ก่อนอื่นผมต้องขอชมเชยวิศวกรท่านนี้นะว่าคำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีและมีความน่าสนใจมาก … Read More

การคำนวณหาค่า Equivalent Force Matrix และ Fixed End Forces Matrix ของโครงสร้าง Rigid Frame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์เพื่อเป็นการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่อง เหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อนหรือว่า HOT ROLLED STEEL และ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า COLED FORM STEEL … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าของEcและEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากโครงสร้างๆ หนึ่งของผมต้องทำหน้าที่ในการรับกำลังอัดแบบเพิ่มค่าที่มีอัตราการคงค้างของน้ำหนักบรรทุกที่สูงมากๆ เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะต่อเนื่องและยาวนาน หากผมทราบได้จากการนำเอาตัวอย่างของคอนกรีตชุดนี้ไปทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ผมก็จะพบว่าโครงสร้างๆ นี้จะมีค่ากำลัดอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 29