จุดต่อที่ถ่ายแรงดัด และจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องของจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดด้วยและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัดมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและตามที่ผมได้เริ่มต้นอธิบายไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า โครงสร้างเหล็กรูปพรรณของเรานั้นจะมีจุดต่อภายในโครงสร้างเป็นแบบใดแบบหนึ่งหรืออาจจะมีทั้ง 3 แบบข้างต้นก็มีความเป็นไปได้ สำคัญอยู่ที่ผู้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างจะเป็นผู้กำหนดลงไปในแบบวิศวกรรมโครงสร้างและเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้เริ่มต้นทำการพูดถึงจุดต่อที่จะถ่ายแค่แรงเฉือนเพียงเท่านั้นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจะขอทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัด หรือ MOMENT CONNECTION … Read More

ประเภทของจุดต่อภายในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ก่อนหน้านี้สักพักใหญ่แล้วตัวผมเองเคยได้รับข้อความผ่านมาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวจากแฟนเพจที่เป็นน้องผู้หญิงท่านหนึ่ง ซึ่งน้องคนนี้น่าจะกำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีในสาขาวิศวกรรมโยธามาเกี่ยวกับเรื่องประเภทของจุดต่อที่มีการออกแบบและก่อสร้างในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ซึ่งตอนนั้นผมเองก็ได้ให้คำตอบและข้อมูลไปพอสังเขปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตพาเพื่อนๆ โดยเฉพาะคุณผู้หญิงที่เป็นแฟนเพจทั้งหลายไปทำความรู้จักกันกับ ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณซึ่งพวกเราอาจจะพบเจอได้ทั่วๆ ไปในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั่นเองครับ โดยหากจะให้ทำการจัดกลุ่มประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณออกเป็นประเภทหลักๆ ก็น่าจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลักๆ ด้วยกันได้แก่ … Read More

การดูแลรักษาจุดรองรับของโครงสร้างสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้โพสต์ให้ความรู้กับเพื่อนๆ ว่าสำหรับจุดรองรับประเภท เช่น ประเภท ELASTOMERIC BEARING ประเภท ROLLER BEARING และประเภท ROCKER BEARING … Read More

สบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างประเภทรับแรงดึงเท่านั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสองถึงสามช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคาที่ทำหน้าที่ในการป้องกันลมฝนซึ่งจะอยู่ในบริเวณส่วนด้านหลังของอาคารให้แก่เพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งในการโพสต์ดังกล่าวนั้นผมจะเน้นหนักไปที่โครงสร้างซึ่งมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดัดเป็นหลัก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาหยิบยกนำเอากรณีของการออกแบบโครงสร้างซึ่งจะมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดึงเป็นหลักบ้าง ซึ่งจะได้แก่โครงสร้างประเภทใดกัน วันนี้เราจะมาติดตามรับชมไปพร้อมๆ กันเลยก็แล้วกันนะครับ โครงสร้างที่ว่านี้ก็จะได้แก่โครงสร้างที่อาศัยชิ้นส่วนประเภทที่รับเฉพาะแค่เพียงแรงดึงเท่านั้นหรือ TENSION ONLY STRUCTURES ซึ่งก็อาจจะได้แก่ … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้าวราวกันตก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ภายในสัปดาห์นี้ที่เราจะได้กลับมาพบกันอีกครั้ง ผมก็จะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรฐานการออกแบบที่เพื่อนๆ จะสามารถนำไปใช้ในการทำงานออกแบบโครงสร้างราวกันตกได้ซึ่งก็น่าที่จะเป็นการดีเหมือนกัน ซึ่งมาตรฐานการออกแบบนี้มีชื่อเสียงเรียงนามแบบเต็มๆ ว่า มยผ . 1321-61 มาตรฐานการออกแบบราวกันตกในอาคารจอดรถยนต์ ซึ่งออกโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง … Read More

เสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งกับเพื่อนๆ เอาไว้ในโพสต์ของเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างของกรณีของการก่อสร้างต่อเติมโครงสร้างที่เรานั้นทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารนั้นมีรายละเอียดเป็นเช่นใดและมีระดับของความแข็งแรงมากหรือน้อยเพียงใด ทั้งนี้ก็เพื่อเราจะได้สามารถสามารถนำเอาโครงสร้างใหม่ของเรานั้นไปฝากไว้กับโครงสร้างเดิมได้เอามาฝากแก่เพื่อนๆทุกๆ คนนะครับ หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปตัวอย่างในวันนี้ก็จะเห็นได้ว่าส่วนของหลังคานั้นจะถูกก่อสร้างขึ้นโดยการติดตั้งอยู่โดยที่จะยื่นตัวออกมาจากอาคารเดิม ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าน้ำหนักของโครงสร้างหลังคายื่นส่วนใหม่นั้นก็จะต้องถูกนำเอาไปฝากเอาไว้กับโครงสร้างส่วนเดิมโดยตรงนั่นเอง ซึ่งสาเหตุที่ผมได้แจ้งไปว่าในการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างตามแบบๆ นี้เราควรที่จะต้องทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารของเรานั้นจะมีรายละเอียดเป็นแบบใด … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการโพสต์เอาไว้เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า ในกรณีที่ทางผู้รับจ้างทำงานก่อสร้างนั้นมีความต้องการที่จะเปลี่ยนชั้นคุณภาพของเหล็กเสริมนั้น เราไม่สามารถที่จะอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้ ซึ่งการเปลี่ยนจะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อได้การทำการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นๆ ใหม่เท่านั้น ซึ่งก็มีเพื่อนๆ หลายคนของผมสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมมาว่า “ถ้าไม่สามารถอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้แล้วเหตุใดพวกเค้าจึงเห็นว่าวิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานในสถานที่ก่อสร้างของพวกเค้าทำการคำนวณหาเหล็กเสริมใหม่โดยการเทียบสัดส่วนโดยตรงเลยละ แบบนี้เค้าทำผิดใช่หรือไม่ครับ ?” ผมขอตอบแบบนี้นะ สาเหตุที่เพื่อนๆ … Read More

ตอบปัญหาการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดโดยพิจารณาจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มในการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินที่อยู่ข้างล่างและโครงสร้างเสาเข็มนั้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 300 MM ทั้งนี้ผมจะขอสมมติว่าในขั้นตอนการคำนวณนี้เป็นเพียงขั้นตอนในการคำนวณออกแบบเริ่มแรกซึ่งยังไม่ได้มีการคำนวณหาระยะความหนาของฐานรากออกมา หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากนี้โดยที่ผมจะอาศัยสมมติฐานว่าฐานรากของผมนั้นเป็นแบบ  … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อช่วงก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามผ่านเข้ามาทางช่องทางข้อความส่วนตัวของผมซึ่งคนที่ถามนั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งคำถามก็มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนรายละเอียดต่างๆ ในการเสริมเหล็กในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยที่มีใจความของคำถามดังนี้ครับ “หากเดิมทีในแบบวิศวกรรมโครงสร้างได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนว่า ให้ใช้คอนกรีตและเหล็กเสริมเป็นชั้นคุณภาพแบบใด ใช้ขนาดและจำนวนเป็นเท่าใด ไม่ทราบว่าหากผู้รับเหมาจะขอทำการเปลี่ยนในเรื่อง ชั้นคุณภาพ ขนาด … Read More

การคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่มักจะทำการสอบถามเข้ามาในทำนองว่า เพราะเหตุใดทางภูมิสยามฯ จึงทำการให้ข้อมูลของค่าความสามารถในการรับน้ำหนักของเสาเข็มขนาดหน้าตัดเสาเข็มชนิดต่างๆ ออกมาได้ดังรูปแรกที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้ ผมเลยมีความคิดว่า น่าที่จะเป็นการดีหากผมทำการชี้แจงแถลงไขคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 29