วิศวกรโครงสร้าง หรือ STRUCTURAL ENGINEER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องในโอกาสที่แอดมินกำลังจะเข้าทำการศึกษาต่อในระดับ ป เอก ภายในช่วงเวลาประมาณต้นปีหน้านี้นะครับ ประกอบกับคำถามที่มักถูกถามบ่อยๆ เกี่ยวกับว่า เหตุใดแอดมินถึงเลือกสายงานอาชีพเป็น วิศวกรโครงสร้าง หรือ STRUCTURAL ENGINEER ? วันนี้เห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะ เลยอยากจะนำความรู้สึกของแอดมินเองมาเล่าสู่กันฟังให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันเป็นความรู้ด้วยก็น่าจะเป็นการดีครับ ในมุมมองของแอดมินนั้นสายงานวิศวกรรมโครงสร้าง หรือ STRUCTURAL … Read More

หลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่เมื่อวันก่อนแอดมินได้ทำการอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบเพื่อรับแรงในแนวดิ่งและในแนวราบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปได้อย่างไรไปแล้วนะครับ วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) กันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขอย้อนความสักเล็กน้อยให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้ อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

ผลการวิเคราะห์จาก BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนแอดมินได้โพสต์ถึงการนำ BORING LOG จากกรณีที่หน้างาน CASE หนึ่งมาเป็น CASE STUDY ให้พวกเราได้ศึกษากัน และ จากโพสต์ๆ นั้นมีคำถามต่อว่า “ถ้าชั้น PILE TIP ที่เสาเข็มวางอยู่แล้วความหนาลึกลงไปอีก มากกว่าหรือเท่ากับ 5 … Read More

วิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบกึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อหลายวันก่อนผมได้นำเสนอวิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบไม่ทำลาย (NON-DESTRUCTIVE TEST) ไปแล้ว ดังนั้นวันนี้จะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีแบบ กึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST) ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ หลักการการของทดสอบเพื่อที่จะประเมินหาค่ากําลังอัดของคอนกรีต (COMPRESSIVE STRENGTH) โดยวิธีการข้างต้นมีชื่อว่า CORE DRILLING TEST วิธีการนี้เป็นการทดสอบคอนกรีตแบบ … Read More

การก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่ในการก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม และ มีปัญหาว่าหากเสาเข็มที่ใช้นั้นมีความยาวมากๆ และ ที่หน้างานมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักนะครับ วันนี้เราจะมาดูคำตอบกันนะครับ      กรณีที่ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ และ ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักเราอาจเลือกประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ (1) ระบบเสาเข็มหล่อในที่ เช่น เสาเข็มเจาะ เป็นต้น  … Read More

วิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  วันนี้แอดมินจะนำวิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล มาให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้กันก่อนนะครับ     วัสดุคอนกรีตเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติด้านความแข็งตัว (SOLID) ที่ค่อนข้างดีเพราะจะทำให้สามารถรับกำลังอัดที่เกิดขึ้นในหน้าตัดได้ดี แต่ ก็มีคุณสมบัติด้านความเปราะ (BRITTLE) ในตัวเองด้วยเช่นกัน ดังนั้นด้วยคุณสมบัติข้างต้นทำให้เมื่อทำการหล่อคอนกรีตจนคอนกรีตเริ่มที่จะแข็งตัวแล้ว … Read More

การจำลองโครงสร้างจาก CONFIGURATION ของบันได

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  ในวันนี้ผมจะมาขยายความภาพๆ หนึ่งที่พวกเราหลายๆ คนคงจะพบเห็นได้บ่อยๆ ในหน้า ENGINEERING PAGE ต่างๆ มาสักพักแล้ว จะขาดไปก็เพียงแต่คำอรรถาธิบายถึงรายละเอียดต่างๆ ของภาพเท่านั้น ก็เหมือนเดิมนะครับ วันนี้ผมจะมาให้คำอธิบายเพิ่มเติมแก่เพื่อนๆ ให้ได้รับทราบกันนะครับ  (ในภาพ HAND OUT นี้ (รูปที่ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ       วันนี้มีคำถามมาจากเพื่อนๆ ของเราท่านหนึ่งได้ฝากคำถามมาว่า “ไม่ทราบว่าในการออกแบบและใช้งานโครงสร้างเหล็กเหตุใดจึงมีความนิยมที่จะใช้โครงสร้าง เสา ที่ทำขึ้นจากหน้าตัดรูปทรง … Read More

ข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล COUPLER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือ ที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า COUPLER นะครับ      โดยปกติในการต่อเหล็กเส้นในงานโครงสร้างเราจะนิยมใช้วิธีต่อทาบเหล็กเสริม โดยที่ระยะทาบนี้จะอยู่ที่ 40D หรือ 50D และ เราจะใช้ลวดมัดหรือเชื่อมติดกัน ถ้าในโครงสร้างมีการเสริมเหล็กจำนวนมาก วิธีการทาบก็ทำให้เหล็กเสริมในโครงสร้างที่จุดต่อแน่นมากขึ้น ทำให้พื้นที่หน้าตัดคอนกรีต … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ      หลังจากที่เมื่อวานผมได้มาแชร์ให้เพื่อนๆ ทราบกันไปแล้วว่าดินเองก็มีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเช่นเดียวกันกับวัสดุอื่นๆ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขออนุญาตเริ่มต้นอธิบายก่อนนะครับว่าถึงแม้ว่าดินที่เรากำลังพูดถึงนี้จะมีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเหมือนกันกับวัสดุอื่นๆ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 29