ทดสอบหาค่าโมดูลัสการแตกร้าว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมโพสต์เกี่ยวกับค่าหน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว และ มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งถามผมมาว่าจากในรูปที่ผมแนบมาด้วยนั้น (ดูรูปที่ 1) เป็นรูปการทดสอบค่าๆ นี้หรือไม่ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามข้อนี้นะครับ ประการแรกเลยนะครับ คำตอบ คือ ใช่ครับ การทดสอบหาค่าๆ นี้สามารถทำการทดสอบได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ … Read More

สมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับว่าเหตุใดผมถึงบอกกล่าวกับเพื่อนๆ ทุกๆ คนว่าความรู้ในระดับพื้นฐานทุกๆ เรื่องนั้นเป็นเรื่องสำคัญ จากเรื่องเมื่อวานที่ผมโพสต์ไปว่าสมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION ในชิ้นส่วน BAR หรือ ROD จะมีค่าเท่ากับ PL/AE เพื่อนๆ อาจมีความสงสัยว่าเราจะนำสมการพื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ และ ต่อยอดในระดับสูง กรณีใดได้บ้าง … Read More

วัสดุคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมอยากที่จะขอมาให้ความรู้พื้ฐานสั้นๆ เกี่ยวกับวัสดุคอนกรีตนะครับ หากเพื่อนๆ อ่าน TEXT BOOK หรือเอกสารตำราของต่างประเทศหลายๆ ครั้งเราอาจพบได้ว่าเมื่อทำดารอ้างถึงค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน มักจะใช้ CODE ระบุว่า C …X… / …Y… เพื่อนๆ … Read More

ความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ต่อไปนี้วิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS ที่ผมมีโอกาสได้เรียนในระดับ ป เอก เริ่มที่จะทวีความน่าสนใจมากขึ้นทุกทีแล้วครับ ดังนั้นต่อไปผมคงจะมีโอกาสได้นำเนื้อหาที่น่าสนใจในรายวิชานี้มาฝากเพื่อที่เพื่อนๆ จะได้เรียนรู้ไปกับผมด้วยนะครับ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้ถึงเนื้อหาในระดับสูงข้างต้นวันนี้ผมคิดว่าจะขอมาทบทวนความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS ให้แก่เพื่อนๆ ก่อนนะครับ เมื่อโครงสร้างใดๆ … Read More

การดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้แอดมินจะมาเล่าให้ฟังถึงสมมติฐานถึงเรื่องการดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT) ให้เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ และสมมติฐานเหล่านี้จะใช้สำหรับการวิเคราะห์เฉพาะคานที่ทำขึ้นจากวัสดุที่มีพฤติกรรมความเป็นเชิงเส้น (LINEAR ELASTIC MATERIAL) เท่านั้นนะครับ (1) ระนาบของหน้าตัดคานยังคงอยุ่ในระนาบเดิมหลังจากเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งจากการดัด (ดูรูปประกอบนะครับ) (2) ระนาบยังคงตั้งฉากกับหน้าตัดตามแกนแนวยาวของคานที่พิจารณาก่อนเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งเนื่องจากการดัด … Read More

การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน แอดมินเชื่อว่าเพื่อนๆ คงจะรู้จักและคุ้นเคยกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปน้อยกันอยู่แล้วนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมากกันบ้างนะครับ (ดูรูปประกอบนะครับ) โดยปกติแล้วเมื่อเราทำการวิเคราะห์โครงสร้างกันโดยทั่วๆ ไปแล้วเราทำการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง เราจะพบว่า ณ ค่าตำแหน่งของการเกิดการเสียรูปตามระนาบในแนวนอน (Xo) จะมีค่าใกล้เคียงกันกับระนาบตามแนวโค้ง (S) เมื่อคานเกิดการเสียรูปเนื่องจากการดัด … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FEM

สวัสดีแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อวานนี้แอดมินได้เกริ่นให้เพื่อนๆ ฟังไปแล้วว่าเมื่อวิศวกรต้องการที่จะวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT วิศวกรผู้ใช้งานจำเป็นจะต้อง INPUT ข้อมูลอะไรลงไปในโปรแกรมบ้าง           วันนี้ผมจึงอยากที่จะมาเล่าให้ฟังต่อว่าเมื่อวิเคราะห์โครงสร้างดังกล่าวเสร็จแล้ว ผลที่วิศวกรสามารถคาดหมายว่าจะเป็น OUTPUT หรือ RESULT ที่จะได้จากการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง … Read More

“แกนสะเทิน” หรือ “NEUTRAL AXIS”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เราคร่ำเคร่งและเครียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องรอยร้าวของคอนกรีตกันมาหลายวันแล้ว วันนี้ผมคิดว่าเราควรจะพักสมองด้วยคำถามเบาๆ กันบ้างนะครับ คำถามที่แอดมินจะมาถามพวกเราก็คือ พวกเรารู้จัก “แกนสะเทิน” หรือ “NEUTRAL AXIS” กันหรือไม่ครับ ? ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านในเพจจะรู้จักคำๆ นี้ แต่ การจะให้คำนิยามกับคำๆ นี้ผมคิดว่าหลายๆ … Read More

สาเหตุของรอยร้าวในคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ เคยสังเกตมั้ยครับ ไม่ว่าเราจะทำการผสมคอนกรีตเองหรือจะสั่งคอนกรีตผสมเสร็จมาใช้ที่หน้างานก็แล้วแต่ ในบางครั้งก็มักจะเกิดรอยร้าวขึ้นในเนื้อคอนกรีตขึ้น ไม่มากก็น้อย วันนี้เราจะมาพูดคุยกันถึงประเด็นๆ นี้กันนะครับ โดยเราสามารถจำแนกถึงสาเหตุของการแตกร้าวออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ (1) การแตกร้าวที่มีสาเหตุมาจากงานโครงสร้าง (STRUCTURAL CRACK) (2) การแตกร้าวที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากงานโครงสร้าง (NON-STRUCTURAL CRACK) … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ ต่อเนื่องจากเรื่องที่ผมทิ้งท้ายเอาไว้เมื่อวานนะครับ โดยที่เมื่อวานผมได้อธิบายกับเพื่อนๆ ไปแล้วว่าหากทำการออกแบบหน้าตัดเหล็กที่ต้องรับ แรงอัด และ แรงดัด พร้อมๆ กัน และ หน้าตัดเองมีค่าอัตราส่วนระหว่างค่า fa/Fa มีค่าน้อยกว่า 0.15 เราสามารถใช้สมการ INTERACTION ของ AISC … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 29