สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า(ต่อ)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

การผสมปูนซีเมนต์กับดินเดิมสามารถทำได้ 2 วิธี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมากล่าวถึงกรณีที่เรานั้นไม่ต้องการที่จะให้อาคารที่เราทำการก่อสร้างซึ่งจะรวมไปถึงมวลดินที่อยู่ในบริเวณรอบๆ ตัวอาคารนั้นเกิดการทรุดตัวตามไปด้วยนะครับ จริงๆ คำตอบที่ง่ายและตรงไปตรงมาของปัญหาข้อนี้ คือ เราจำเป็นที่จะต้องทำการพัฒนาคุณภาพของดิน (SOIL IMPROVEMENT) รอบๆ ตัวอาคารนั่นเองนะครับ โดยทั่วไปโครงสร้างของชั้นดินในบริเวณที่เป็นพื้นที่มีความดินอ่อนตัวมากจะมีเสถียรภาพต่อการรับน้ำหนักได้ค่อนข้างที่จะน้อย และ เมื่อมีน้ำหนักมากระทำบนดินก็จะเกิดการทรุดตัวที่มีค่าสูงมาก เราจึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนี้ก่อนการก่อสร้างอาคารนะครับ สำหรับวิธีการในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนั้นมีด้วยกันหลายวิธีเลยนะครับ ซึ่งแต่ละวิธีก็จะมีทั้ง ข้อดี และ … Read More

วิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ช่วงหลายวันที่ผ่านมานั้นผมได้ไปตรวจงานที่หน้างานซึ่งอยู่ในโครงการก่อสร้างโครงการหนึ่งนะครับ ในโครงการนี้ผมได้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโดยใช้โครงสร้างเหล็กเป็นโครงสร้างหลักนะครับ ในโครงการนี้ผมพบว่าวิศวกรผู้ควบคุมงานของทาง ผรม นั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรที่จบการศึกษามาจากมหาวิทยาลัยเก่าของผมเอง เมื่อน้องท่านนี้ทราบว่าผมเป็นรุ่นพี่ก็ดีใจใหญ่ เค้าเลยฝากคำถามมายังผม 2 เรื่องด้วยกัน ผมเห็นว่าคำตอบต่อคำถามทั้งสองข้อนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านด้วยนะครับ ในวันนี้ผมจึงตัดสินใจจะมาตอบคำถามของน้องท่านนี้นะครับ คำถามข้อแรก คือ น้องท่านนี้สอบถามผมว่า เค้าเคยศึกษาวิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กโดยวิธี ALLOWABLE … Read More

สิ่งที่มักจะลืม ในการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ที่สำคัญประการหนึ่งที่วิศวกรออกแบบหลายๆ ท่านมักจะลืมเวลาที่ทำการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก นั่นก็คือเรื่อง BRACING นั่นเองครับ หากพิจารณาถึงเนื้อที่หน้าตัดของโครงสร้างที่มีขนาดเท่าๆ กันระหว่างวัสดุ คอนกรีต และ เหล็ก จะพบว่าวัสดุคอนกรีตนั้นจะมีความแข็งแรงที่น้อยกว่าโครงสร้างเหล็กอยู่ประมาณ 10 เท่านะครับ ดังนั้นหากเราทำการออกแบบโครงสร้างด้วยวัสดุที่เป็นเหล็ก เราจะพบว่าชิ้นส่วนของโครงสร้างที่ใช้ในองค์อาคารของเราจะมีขนาดที่ค่อนข้างเล็ก ทำให้โครงสร้างเหล็กนั้นจะมีสัดส่วนที่ค่อนข้างจะมีความชะลูดที่มากกว่าโครงสร้างคอนกรีต … Read More

ค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อนะครับ โดยวันนี้ผมอยากที่จะมาเล่าต่อให้จบในประเด็นในเรื่องของค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR ที่ผมได้ติดค้างเพื่อนๆ เอาไว้ให้จบหลังจากที่เมื่อวานผมได้เล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงค่า LOCAL OVERSTRENGTH FACTOR กันไปแล้วนะครับ สำหรับค่าตัวประกอบกำลังส่วนเกินโดยรวม (GLOBAL OVERSTRENGTH) นั้นจะเกิดจากพฤติกรรมของระบบโครงสร้างโดยรวมภายใต้แรงกระทำทางด้านข้าง หลังจากที่ระบบของโครงสร้างโดยรวมนั้นเกิดการครากไปแล้ว … Read More

การใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วงนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน โดยในการทำงานของ ผรม นั้นมีการใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตด้วยครับ ผมเห็นว่าหากนำความรู้เรื่องนี้มาเผยแพร่ ก็น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วัสดุนอนชริ้งเกร้าท์ หรือ NON-SHRINK GROUT ก็คือ วัสดุซีเมนต์ผสมพิเศษที่ให้ค่าการรับกำลังอัดที่สูงมาก … Read More

SUPERIMPOSED น้ำหนักที่เกิดขึ้นเพิ่มเติมจากน้ำหนักเดิมที่มีอยู่แล้ว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวานผมได้พักผ่อนกับลูกๆ ไปหนึ่งวันเต็มๆ วันนี้หายเหนื่อยจากการตรากตรำทำงานมานานได้ไปบ้างแล้วครับ วันนี้เลยขอกลับมาเจอกันกับเพื่อนๆ อีกเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมขอเริ่มต้นด้วยหัวข้อเบาๆ ละกันนะครับ แต่ ความรู้ที่เพื่อนๆ อาจจะได้จากโพสต์ๆ นี้น่าที่จะทำให้เพื่อนๆ เกิดความเข้าใจในเรื่องๆ นี้ได้มากยิ่งขึ้นนะครับ เพื่อนๆ คงเคยได้ยินหรือมีความคุ้นเคยกันแล้วนะครับถึงคำว่า นน บรรทุกคงที่ หรือ … Read More

หากเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมต่อเนื่องจากเรื่องราวของฐานรากแผ่ที่ผมเคยโพสต์ไว้สักพักแล้วนะครับว่า “หากเราเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS) จะทำให้พฤติกรรมของฐานรากนี้เปลี่ยนไปหรือไม่ ? การออกแบบนั้นจะยุ่งยากเพิ่มขึ้นมากหรือไม่ และ เราควรพิจารณาทำการออกแบอย่างไรจึงจะเหมาะสม” ก่อนอื่นผมขอชื่นชมน้องท่านนี้ก่อนนะครับว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่ดีและน่าสนใจมาก … Read More

หลักการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงหลักการพื้นฐานที่เราใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง ซึ่งเป็นหลักการง่ายๆ ที่มีความตรงไปตรงมา แต่ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์โครงสร้างมากๆ นะครับ นั่นก็คือเรื่องทฤษฎีของ SUPERPOSITION นั่นเองครับ หลักการของ SUPERPOSITION เป็นแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีของการวิเคราะห์โครงสร้าง โดยที่มีข้อกําหนดว่าในการแอ่นตัว และ หมุนตัว (DISPLACEMENT) และ … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 29