การนำเอาค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล และค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ไปใช้ในการทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ จริงๆ แล้วในวันนี้ผมอยากที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่คิดไปคิดมาผมเลยอยากจะขอจบการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของ ค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล หรือค่า K และ ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More

ความสำคัญของการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงทางด้านข้างของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่เคยได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งสักพักใหญ่ๆ มาแล้วแต่เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ เลยทำให้ผมยุ่งๆ และเพิ่งจะมีเวลาที่จะมาตอบคำถามข้อนี้ให้ ซึ่งใขความของคำถามนั้นเป็นดังนี้ครับ “รบกวนสอบถามอาจารย์ว่า หากผมจะตอกเสาเข็มไมโครไพล์ลงไปในดินและก็จะใช้พื้น คอร สำเร็จรูปทำหน้าที่เป็นโครงสร้างผนังรับแรงกระทำของดินทางด้านข้างมันจะใช้งานจริงๆ … Read More

การคำนวณหน้าตัดโครงสร้าง ที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดเปรียบเทียบกัน ระหว่างมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกาและฝั่งอังกฤษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ค่าตัวคูณลดกำลัง หรือ REDUCTION FACTOR ซึ่งก็คือค่า Ø ในมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกา หรือ ACI318 … Read More

โครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด หรือ COMPRESSION ELEMENT ในวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นคำถามยอดฮิตเวลาที่ผมต้องสอนเกี่ยวกับ โครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด หรือ COMPRESSION ELEMENT ในวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS … Read More

ชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้น – แผ่นพื้นไม้เทียม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้นมาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ทุกครั้งที่ผมมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ก่อสร้างใดๆ ก็ตามแต่ผมก็พยายามที่จะเก็บและนำเอารูปถ่ายจากโครงสร้างจริงๆ เอามาฝากกับเพื่อนๆ ซึ่งในวันนี้ก็เช่นกัน เนื่องด้วยผมบังเอิญมีโอกาสได้ผ่านไปยังห้างคอมมิวนิตี้มอลล์แห่งหนึ่งซึ่งบริเวณด้านหน้าของห้างแห่งนี้มีการติดตั้งระบบแผ่นพื้นๆ หนึ่งเข้าไปบนโครงสร้าง ซึ่งเจ้าระบบแผ่นพื้นนี้ผมยังไม่เคยได้นำเอาอธิบายกับเพื่อนๆ นะแต่เป็นเพราะผมเห็นว่ามีความน่าสนใจดี ผมจึงตัดสินมจที่จะบันทึกภาพไว้และนำเอามาฝากกับเพื่อนๆ ในวันนี้ครับ ระบบของแผ่นพื้นที่ว่านี้ก็คือ … Read More

ที่มาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล ว่าเพราะเหตุใดหน้าตาของสมการจึงออกมาดังรูปที่ได้แสดงประกอบอยู่ในโพสต์ๆ นี้ ? ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในแชทแทบจะในทันทีเลยว่า … Read More

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

การคำนวณตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปเป็นการจัดวางเหล็กเสริมในหน้าตัดโครงสร้างคาน คสล รับแรงดัด โดยที่ในเหล็กที่อยู่ในแถวล่างจะประกอบไปด้วยเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม และ 25 … Read More

เทคนิคในการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

1 2 3 4 5 29