ประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการขยายความและอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันถึงประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูงในหลายๆ แง่หลายๆ มุมกันบ้างนะครับ โดยที่ผมได้ทำการแบ่งประโยชน์และข้อดีของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง (HIGH STRENGTH STRUCTURAL STEEL) … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? นั่นก็คือ เพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างเสาเข็มเจาะ (BORED PILE) แต่ … Read More

อุโมงค์ลม หรือ WIND TUNNEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน บรรทุกทางด้านข้างประเภท แรงลม (WIND LOAD) ให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้วก็พบว่ามีคำถามเข้ามาที่ผมมากมายว่า หากว่าเราไม่มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้มารองรับว่า … Read More

หลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง 3 รูปแบบนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันต่อจากโพสต์ของเมื่อ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้มานำเสนอบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึง MOVING LOAD ในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ในการคำนวณหาค่าต่างๆ เพื่อนำไปคำนวณเพื่อนำค่า MOVING LOAD … Read More

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ หัวข้องานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) นะครับ วันอาทิตย์วันสบายๆ แบบนี้ผมมีเทคนิคในการทำแบบวิศวกรรมโครงสร้างที่ดีอย่างหนึ่งมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ โดยหากเพื่อนๆ นำหลักการๆ นี้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อนๆ จะสามารถทำการอ่านแบบและดูรายละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างที่จะง่าย แถมการทำแบบในลักษณะนี้ยังสามารถที่จะลดความผิดพลาดในการทำงานโครงสร้างลงได้มากวิธีการหนึ่งด้วยนะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้เคยอธิบาย และ ให้คำแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันไปแล้วนะครับว่า หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว … Read More

โครงสร้างโครงถักเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “ในการออกแบบโครงสร้างโครงถักเหล็ก โครงสร้างที่เป็น BOTTOM CHORD ซึ่งทำหน้าที่ในการเป็น TENSION MEMBER ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ก็คือค่า kL/r = 300 ใช่ … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเอาไว้นะครับว่า “ในการทดสอบเสาเข็มจริงๆ นั้นเราสามารถที่จะทำการแบ่งออกได้เป็นการทดสอบเสาเข็มแบบใดได้บ้าง และ หากเราต้องการที่จะทำการทดสอบว่าเสาเข็มของเรานั้นมีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เราควรที่จะใช้วิธีการใดในการทดสอบ ?” เป็นคำถามที่ดีนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาตอบคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนท่านนี้ ซึ่งก็รวมไปถึงเพื่อนๆ ทุกๆ คนด้วยนะครับ ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE … Read More

1 16 17 18 19 20 21 22 29