ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ คงจะเคยใช่หรือไม่ครับ ที่พยายามจะสื่อสารกับชาวต่างชาติเป็นภาษาอังกฤษด้วยประโยคในทำนองที่ว่า “คุณแน่ใจ …… หรือไม่ ?” หรือ “คุณมั่นใจ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ที่บริเวณ โคน หรือ ขอบล่าง ของโครงสร้างเสา คสล ไม่ว่าจะเป็น เสาช่วงกลาง … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ คงจะเคยใช่หรือไม่ครับ ที่พยายามจะสื่อสารกับชาวต่างชาติเป็นภาษาอังกฤษแล้วแต่ทำอย่างไรก็ยังไม่สามารถที่จะสื่อสารกันได้เข้าใจสักที ? ดังนั้นในวันนี้ ผมจึงได้นำเอาประโยคหลายๆ ประโยคที่เพื่อนๆ จะสามารถนำมาใช้ในการสื่อสารกับชาวต่างชาติเมื่อเพื่อนๆ ต้องตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้นะครับ … Read More

การติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึดว่า เราควรที่จะทำการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึดในรูปแบบที่มีความสมมาตรกัน และ ได้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้สอบถามเข้ามาว่า หากว่าแรงกระทำนั้นมีค่าน้อยมากๆ หรือ BOUNDARY CONDITIONS … Read More

ข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN ข้อที่ 338

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 338 ฐานรากแผ่ขนาด 1.80×1.80 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาด 0.30×0.30 เมตร ตรงกึ่งกลางฐานราก ซึ่งถ่ายแรงอัด P … Read More

คานยื่น (CANTILEVER BEAM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ ผมจะขออนุญาตทำการสมมติว่าเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็น … Read More

สำนวนที่ว่า “It’s raining cat’s and dog’s.”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เนื่องจากช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นฝนตกในทุกๆ วัน เลยทำให้ผมนึกถึงสำนวนๆ หนึ่งในภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการที่ฝนตก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอนอกเรื่องออกไปจากหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม สักหน่อยนึง ซึ่งสำนวนที่ว่าก็คือ “It’s raining … Read More

“Post-“

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้เล่าให้ฟังถึงคำว่า “Pre-“ ไป วันนี้เราจะมาดูคำที่มีความหมาย “ตรงกันข้าม” กับคำๆ นี้กันดีกว่า นั่นก็คือคำว่า “Post-“ นั่นเองนะครับ … Read More

“Pre-”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ หากผมเอ่ยภาษาอังกฤษคำว่า “Pre-” ออกมา ผมเชื่อเหลือเกินว่าคงจะมีเพื่อนๆ ของพวกเราหลายๆ คนคุ้นหูและคุ้นเคยกับคำๆ นี้ดี ส่วนจะรู้ความหมายและสามารถนำไปใช้ได้ถูกต้องหรือไม่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการให้ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงการใช้งานคำๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องหลักการในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณว่า “เมื่อทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณชิ้นส่วนที่เป็น คาน-เสา (BEAM-COLUMN ELEMENT) เหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทำการคำนวณปรับแก้ ค่าตัวคูณขยายค่า (MAGNIFICATION FACTOR) … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 29