วิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ ซึ่งจะถือได้ว่าวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะมีความทันสมัยมากวิธีการหนึ่ง นั่นก็คือ การประเมินสมรรถนะโดยอาศัยข้อมูลวิศวกรรมแผ่นดินไหว หรือ PERFORMANCE BASED EARTHQUAKE ENGINEERING หรือ PBEE นั่นเองนะครับ   ซึ่งวิธีการนี้จะแตกแยกย่อยออกไปตามลักษณะของวัสดุหลักที่นำมาใช้ทำการก่อสร้างตัวระบบโครงสร้างในอาคารของเรา … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ   โดยที่หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ   โดยในวันนี้ผมจะขอมาทำการอธิบายถึงในส่วนที่สองกันต่อจากสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ ขั้นตอนในเลือกระบบของโครงสร้างเสาเข็ม และ … Read More

ความรู้พื้นฐานทางด้าน การออกแบบโครงสร้าง คอร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันอาทิตย์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องความรู้พื้นฐานทางด้าน การออกแบบโครงสร้าง คอร นั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า ผมได้ทำการหล่อเสาเข็ม คอร ขึ้นมา 1 ท่อน ซึ่งเสาเข็มต้นนี้มีความยาวเท่ากับ L หากผมต้องการที่จะทำการใช้เครนเพื่อทำการยกเสาเข็มท่อนนี้ดังรูปที่เพื่อนๆ เห็น ผมควรที่จะทำการยกที่ระยะเท่าใดจากปลายของเสาเข็มทั้ง … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากว่าต้องทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการทำงานซึ่งต้องคอยทำหน้าที่ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนการทำงานเทคอนกรีตสำหรับงานจำพวกโครงสร้าง คสล นั่นเองนะครับ โดยวิธีการที่ผมจะนำมาสรุปให้ฟังนี้ถือได้ว่าเป็นขั้นตอนพื้นฐานสำหรับการตรวจโครงสร้าง คสล ก่อนการเทคอนกรีตพอสังเขป โดยเพื่อนๆ สามารถที่จะใช้การตรวจสอบและการสังเกตได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ โดยที่ผมทำการสรุปออกมาทั้งหมด 6 ข้อด้วยกัน … Read More

แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตเลือกหัวข้อมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงจำพวกหนึ่ง ซึ่งก็คือ แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันแต่ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับรูปแบบของการวิบัตินี้กันสักเล็กน้อยนะครับ รูปแบบของการที่โครงสร้างเกิดการวิบัติแบบเจาะทะลุ … Read More

ภาษาอังกฤษที่เรามีการใช้งานทับศัพท์ในภาษาไทย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันใช่หรือไม่ครับว่ามีคำในภาษาอังกฤษที่เรามีการใช้งานทับศัพท์ในภาษาไทยด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันถึงคำประเภทนี้ ซึ่งจริงๆ แล้วก็มีอยู่จำนวนไม่น้อยเลย ดังนั้นวันนี้ตัวอย่างที่ผมนำมาฝากเพื่อนๆ จึงเป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้นเอง เช่น … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดเวลาที่ทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีการดัดโค้ง เค้าจึงนิยมใช้หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวงกันอยู่เสมอเลย ? วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบและทำความเข้าใจกันถึงประเด็นๆ นี้นะครับ   … Read More

การใช้สารเคลือบผิวโครงสร้างเหล็ก เพื่อป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ภายในอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสเดินทางเพื่อไปทำงานตรวจสอบโครงสร้างให้กับลูกค้าท่านหนึ่ง ณ สถานที่แห่งนั้นเป็นอาคารสำนักงานขนาดใหญ่ พอนำรถลงไปจอดที่ชั้นใต้ดินก็พบสิ่งๆ หนึ่งและเห็นว่าน่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงเลือกที่จะนำมาฝากทุกๆ คนในวันนี้ โดยสิ่งที่ผมพบเห็นและได้นำมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนคือ … Read More

การออกแบบเสา คสล รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ   ผมไม่ทราบว่าโดยปกติแล้วเมื่อเพื่อนๆ ทำการออกแบบเสา คสล … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้ทำการทดสอบเรื่องกำลังรับแรงเฉือนทะลุของตัวอย่างพื้นคอนกรีตอัดแรงที่อยู่ภายใต้แรงกระทำจากแผ่นดินไหวตัวอย่างที่ 1 ซึ่งเป็นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดที่ไม่ได้ทำการเสริมด้วยเหล็กเสริมรับแรงเฉือนใดๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ โดยค่าที่ทำการทดสอบได้นั้นปรากฏว่าแผ่นพื้นของผมที่มีค่า GSR หรือ GRAVITY SHEAR … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 29