เมื่อทำการเทคอนกรีตในแบบเสร็จ แล้วทำการแกะแบบออกมา จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งซึ่งหากว่าพวกเรานั้นเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ใช้งานอาคาร ก็อาจจะไม่เคยมีโอกาสได้พบเจอกับปัญหาๆ นี้กันเลยนะครับนั่นก็เป็นเพราะว่าปัญหานี้จะเกิดเฉพาะตอนที่ทำการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเท่านั้น นั่นก็คือ การที่เมื่อทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบเสร็จแล้วทำการแกะแบบออกมาก็จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป ซึ่งในบางครั้งก็อาจจะทำให้เห็นเหล็กเสริมภายในชิ้นส่วนโครงสร้างเลยก็ได้ ซึ่งแน่นอนที่สุดว่าหากปล่อยเอาไว้ให้อยู่ในสภาพเช่นนี้นานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคตแก่โครงสร้างนั้นๆ ได้นะครับ   จริงๆ แล้วสาเหตุของปัญหาๆ นี้อาจมีอยู่ด้วยกันหลายประการเลยนะครับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ พอดีว่ามีเพื่อนท่านหนึ่งได้เข้ามาปรารภและสอบถามกับผมว่า ตามปกติแล้วเพื่อนของผมท่านนี้มักจะออกแบบพื้น คสล แบบมีคานรองรับแต่มาวันนี้เพิ่งจะมีโอกาสได้ทำการออกแบบพื้น คสล แบบไม่มีคานรองรับบ้าง พอเปิดหนังสือดูจึงเกิดความมึนงงและสับสนเป็นอย่างมาก เลยทำให้เกิดความฉงนสงสัยขึ้นมาว่า เพราะเหตุใดสมมติฐานและวิธีในการออกแบบแผ่นพื้นแบบที่มีและไม่มีคานรองรับจึงมีรายละเอียดและวิธีการที่ค่อนข้างจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเลย ?   … Read More

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ     (รูปที่1) ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นโดยทำการ DERIVE สมการตั้งต้นของ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM ให้ทุกๆ ท่านได้ทราบกันก่อน เพื่อนๆ จะได้เข้าใจที่มาที่ไปของสมการตั้งต้นตัวนี้ เพื่อการประยุกต์ใช้งานที่ถูกต้องต่อไป … Read More

การเกิดรอยแตกร้า จากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ SHRINKAGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งที่จริงๆ แล้วเป็นความรู้ที่อยู่ในระดับขั้นพื้นฐานมากๆ แต่พวกเราหลายๆ คนมักที่จะมองข้ามไปจนบางครั้งกลายเป็นปัญหาใหญ่โตเลยทีเดียวนั่นก็คือ การเกิดรอยแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกๆ กันว่า SHRINKAGE นั่นเองนะครับ   เราจะสามารถพบปัญหานี้ได้โดยทั่วไปในโครงสร้างที่ทำจากคอนกรีตเลยนะครับ โดยเฉพาะโครงสร้างที่เป็นพื้น … Read More

โครงสร้างฐานรากแบบยื่น หรือ CANTILEVER FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานนี้ที่ผมได้นำความรู้เรื่อง โครงสร้างฐานรากแบบยื่น หรือ CANTILEVER FOUNDATION มาฝากเพื่อนๆ ไปแล้ว และ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่า ผมจะมาทำการอธิบายเพิ่มเติมให้ได้ทราบกันว่า … Read More

ชนิดของโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ TYPES OF SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึง ชนิดของโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ TYPES OF SHALLOW FOUNDATION ประเภทแรกซึ่งได้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบแผ่เดี่ยว หรือ ISOLATED … Read More

โครงสร้างเขื่อนศรีนครินทร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากไม่นานมานี้ ประเทศไทยของเราต้องเผชิญกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ถือได้ว่ามีความรุนแรงอยู่บ่อยครั้ง ทำให้ผมได้รับคำถามมากมายว่า โครงสร้างนั้นโครงสร้างนี้จะมีความปลอดภัยเพียงพอต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวหรือไม่ ? หนึ่งในโครงสร้างที่ผมได้รับคำถามมาบ่อยที่สุดก็คือ โครงสร้างเขื่อนศรีนครินทร์ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตอบเพื่อนๆ ทุกคนที่เคยได้ถามคำถามนี้กับผมมาก่อนหน้านี้นะครับว่า สถานะความมั่นคงของเขื่อนศรีนครินทร์ต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวนั้นมีสภาพเป็นเช่นไร   ก่อนอื่นผมจะขอตอบไว้ตั้งแต่ต้นนี้เลยนะครับว่า ในปัจจุบันนั้นได้มีการทำการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องความมั่นคงของเขื่อนศรีนครินทร์ต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวอยู่หลายงานวิจัยเลยนะครับ ซึ่งผลส่วนใหญ่ก็คือ … Read More

วิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่ และเก่าโดยไม่ใช้โฟม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยโพสต์เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนของการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่และเก่าโดยไม่ใช้โฟม แต่ ผมได้แนะนำให้เพื่อนๆ นั้นใช้เป็นวัสดุอื่นๆ แทน เช่น แผ่นสมาร์ทบอร์ด แผ่นไม้อัด เป็นต้น วันนี้ผมจึงได้นำรูปภาพจริงๆ จากการแก้ไขงานตรงนี้ของทาง … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการแนะนำและให้คำอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับค่าๆ หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กันกับการเจาะสำรวจดินโดยตรงค่าหนึ่งนั่นก็คือ ค่าสัดส่วนความปลอดภัยในการออกแบบเสาเข็ม นั่นเองนะครับ   ถูกต้องครับ ตัวผมนั้นเคยพูดถึงค่าๆ นี้ไปแล้วหลายครั้งแล้วเช่นกัน แต่ ไหนๆ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ๊อกซ์เข้ามาปรึกษากับผมว่า มีปัญหากับการที่ทาง ผรม นั้นทำงานได้คุณภาพที่ถือว่าแย่มากๆ และพอผมได้ดูรูปที่ได้ส่งมาให้ดูผมถึงกับตะลึงไปเลย ซึ่งหากเพื่อนๆ ได้ดูรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ก็จะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ เกิดขึ้นจากการที่ทาง ผรม นั้นขาดการตรวจสอบพิกัดของเสาตอม่อให้ดีและถูกต้องเพียงพอในขณะที่ทำงาน การกำหนดพิกัดและการตอกเสาเข็ม หรือ การก่อสร้างงานฐานราก … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 29