วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาที่ผมได้แชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากผลการทดสอบดินพบว่า ชั้นดินในบริเวณที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดินนี้เป็นดินประเภท SILTY CLAY ซึ่งก็จะพบว่ามีค่า POISSON’S RATIO … Read More

ความรู้และวิธีการอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาที่ผมอยู่ที่ไต้หวันได้มีเพื่อนบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้สอบถามกันเข้ามาถึงเรื่องๆ หนึ่งและผมก็ได้รับปากว่า เมื่อใดที่ผมกลับมาที่ประเทศไทยเมื่อใดผมจะรีบดูให้ ซึ่งประเด็นและใจความของคำถามข้อนี้นมีดังต่อไปนี้ครับ   “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE … Read More

ความใส่ใจในการตรวจวัดค่าต่างๆ รวมถึงค่าขนาดของคลื่นความถี่ในการเกิดแผ่นดินไหวหนึ่งขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ  (รูปที่1) วันนี้จะเป็นวันสุดท้ายที่ผมจะอยู่ที่ประเทศไต้หวัน โดยที่จะเดินทางกลับประเทศไทยแล้ว ยังไงวันนี้ผมจะนำเรื่องน่าสนใจประการหนึ่งมาฝากเป็นความรู้และข้อคิดดีๆ แก่เพื่อนๆ … Read More

ระบบของฐานรากของอาคารเบิร์จคาลิฟา และหอเอนปีซ่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ   ในวันอาทิตย์แบบนี้ ผมก็จะนำเอาคำถามหรือปัญหาประจำสัปดาห์ที่ได้ฝากเอาไว้เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาๆ เฉลยให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนนะครับ … Read More

เหล็กตีนกา และ ลูกปูน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้แจ้งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหลังจากที่ผมได้แชร์ความรู้ในเรื่องหลักการหลักๆ ของเรื่อง แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM และ แผ่นพื้นวางบนคานแบบสองทางหรือ TWO … Read More

ระดับของน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากว่าเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยนำเอาเรื่องหลักในการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งในหัวข้อนั้นเองผมยังได้ทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากของอาคารนั่นก็คือเรื่อง ระดับของน้ำใต้ดิน ใช่แล้วครับ ในวันนี้ผมจะนำเอาหัวข้อๆ นี้มาทำการอธิบายและขยายความในประเด็นๆ … Read More

เทคนิคและขั้นตอนในการตรวจการทำงานการก่อสร้างฐานรากแบบแผ่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากได้มีเพื่อนของผมท่านหนึ่ง (ในเฟซบุ้ค) ได้เข้ามาพูดคุยและปรึกษากีบผมหลังไมค์ถึงเรื่องราวสัพเพเหระต่างๆ กับผมและยังได้เล่าด้วยว่าเมื่อช่วงวันหยุดยาวเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้าเพื่อนท่านนี้ได้มีโอกาสไปเที่ยวต่างจังหวัดมาและก็มีโอกาสได้ไปยังสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งพอดูแล้วก็รู้สึกคุ้นๆ ยังไงชอบกล เค้าเลยถ่ายรูปกลับมาสอบถามกับผมว่า โครงสร้างดังในรูปใช่ฝีมือการออกแบบของผมใช่หรือไม่ ผมจึงได้ตอบไปว่า ใช่ครับ โครงสร้างในรูปที่นำมาสอบถามผมนี้ผมได้ทำการออกแบบงานโครงสร้างชิ้นนี้ไวนานหลายปีแล้ว เพื่อนท่านนี้ก็ดีใจใหญ่ จึงขอร้องแกมบังคับให้ผมช่วยทำการถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ของงานออกแบบชิ้นนี้ให้เค้าฟังหน่อย ซึ่งผมก็ไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไรเสียด้วย … Read More

วิธีการทดสอบ การรับน้ำหนักบรรทุกของดินในสนาม โดยอาศัยแผ่นเหล็กในการทดสอบ หรือ ในภาษาอังกฤษจะใช้ชื่อในการทดสอบโดยวิธีการนี้ว่า PLATE BEARING TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวิธีในการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของดินในสนามโดยอาศัยแผ่นเหล็กในการทดสอบ หรือ ในภาษาอังกฤษจะใช้ชื่อในการทดสอบโดยวิธีการนี้ว่า PLATE BEARING TEST นั่นเองนะครับ   จริงๆ แล้วการที่เราทำการทดสอบตามวิธีการๆ นี้พูดง่ายๆ … Read More

ปัญหาของงานการออกแบบและการก่อสร้างที่ไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ผมมีโอกาสได้เดินทางไปที่สถานที่แห่งหนึ่ง (ขออนุญาตไม่เปิดเผยว่าเป็นสถานที่ใด) และได้มีโอกาสพบเห็นกับปัญหาของงานการออกแบบและการก่อสร้างที่ไม่ดีเท่าใดนักแต่ที่น่าสนใจจริงๆ ก็คือ วิธีในการแก้ปัญหาของเค้า ผมเลยคิดว่าน่าที่จะนำภาพๆ นี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนก็น่าจะเป็นการดีครับ   ในรูปๆ นี้เป็นรูปโครงสร้างหลังคาที่จอดรถที่ทำจากโครงสร้างเหล็กแบบยื่นซึ่งเราอาจจะพบเห็นได้โดยทั่วไป ซึ่งเหมือนที่ผมเคยเรียนเพื่อนๆ ไปบ่อยๆ ก่อนหน้านี้ว่า … Read More

วิธีการเลือกใช้ขนาดความหนาของโครงสร้าง ที่ทำให้ลักษณะของโครงสร้างมีความเป็น RIGID BODY

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมยังจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนอยู่นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานว่าเมื่อวานนี้จะเป็นโพสต์สุดท้ายของการตอบคำถามแล้วแต่พอผมโพสต์ไปก็ได้มีโอกาสสนทนากับรุ่นน้องที่ถามผมปัญหาข้อนี้กับผม โดยที่มีใจความว่า   “ขอบคุณพี่มากที่สละเวลาตอบคำถามของผม ตอนนี้ผมพอเข้าใจแล้ว ต่อไปผมจะระมัดระวังในการให้รายละเอียดต่างๆ ของจุดรองรับให้มีลักษณะที่ตรงตาม BOUNDARY CONDITIONS เพื่อไม่ให้เกิดผลใดๆ ต่อการวิเคราะห์โครงสร้าง ทีนี้ผมอยากจะถามเป็นคำถามสุดท้ายได้มั้ยพี่ ผมติดอยู่นิดเดียวตรงที่พี่แจ้งในข้อจำกัดในการใช้งานวิธีการ SIMPLIFY … Read More

1 8 9 10 11 12 13 14 29