ขั้นตอนการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ผมได้พูดและอธิบายถึงเรื่องค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินหรือว่าค่า Esoil จบไปก่อนหน้านี้แล้วซึ่งเราจะนำเอาค่าๆ นี้ไปใช้ในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของสปริงที่มีความยืดหยุ่นในทิศทางที่ขนานไปกับดินหรือค่า Ksh แต่ก่อนที่ผมจะพูดถึงค่าๆ นี้วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ รู้จักวิธีในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของสปริงที่มีความยืดหยุ่นในทิศทางที่ตั้งฉากกับดินหรือค่า Ksv นะครับ   … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษ ไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   วันนี้ผมจะนำเอารูปตัวอย่างของรายละเอียดและวิธีการในการเสริมเหล็กในงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจากงานจริงๆ ที่ผมมีโอกาสได้ไปประสบพบเจอมาในการทำงานจริงๆ มาฝากให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบเป็นข้อมูลเอาไว้ โดยที่รายละเอียดในวันนี้ก็คือ การเสริมเหล็กเสริมพิเศษเอาไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับกรณีที่มีการฝังท่อเอาไว้โดยที่ให้ผ่านโครงสร้างส่วนนั้นๆ โดยมีเหตุจำเป็น (รูปที่1) (รูปที่2) (รูปที่3) หากเพื่อนๆ ดูรูปที่ 1 … Read More

การดำเนินการหาผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์โดยอาศัยกฎของลำดับในการคำนวณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่ใจความของโจทย์ปัญหาข้อนี้ก็คือ เพื่อนๆ คงจะพอทราบกันว่าในการคำนวณด้วยกรรมวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้น “พื้นฐาน” เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น จะมีขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเพื่อหาผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์โดยอาศัย “กฎ” ในการคำนวณ ซึ่งจะว่าไปแล้วหากดูภาพโดยรวมแล้วเราก็อาจจะพบได้ว่ากฎดังกล่าวเองก็มีอยู่ค่อนข้างจะหลากหลายอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงขอถามเพื่อนๆ ว่า … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้าง DiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงระบบโครงสร้างระบบหนึ่งที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้างส่วนหนึ่งของอาคารที่จะมีการตั้งอยู่ใต้ระดับดินลงไปมากๆ เช่น ที่จอดรถใต้ดิน หรือ อาคารรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น ระบบนั้นก็คือ ระบบกำแพงรับแรงดัน หรือที่พวกเรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า DIAPHRAGM WALL … Read More

การใช้งานและข้อดีข้อด้อยของเสาดินซีเมนต์โดยสังเขป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการพัฒนากำลังของดิน ให้แก่เพื่อนๆ ไป ปรากฏว่าก็ได้มีความเห็นเข้ามาอย่างต่อเนื่องในอินบ็อกซ์ของผม โดยที่ส่วนใหญ่แล้วอยากที่จะให้ผมอธิบายและยกตัวอย่างถึงวิธีในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินให้ได้รับทราบกัน ผมจึงคิดว่าน่าจะเป็นการดีหากว่าผมจะใช้เวลาในช่วงวันพุธเพื่อที่จะทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงเรื่องๆ นี้ให้แก่เพื่อนๆ โดยที่วันนี้ผมจึงอยากจะขอพูดถึงเรื่อง การใช้เสาดินซีเมนต์ หรือ … Read More

เสาเข็มในฐานรากเดี่ยว เกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากกว่าค่าที่ยอมรับได้ โดยใช้คานยึดรั้ง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่โจทย์ในวันนี้จะมีรายละเอียดและใจความว่า จากรูปที่แสดงในโพสต์ๆ นี้จะเห็นได้ว่าเสาเข็มที่จะต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักจากเสาตอม่อ C1F1N2 ที่อยุ่ที่ตำแหน่งของฐานราก F1N2 นั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากกว่าค่าที่ยอมรับได้ หากว่าผมได้ทำการกำหนดให้แก่เพื่อนๆ ว่าเสาตอม่อทั้ง 4 ต้น ในอาคารหลังนี้จะมีการรับน้ำหนักที่เท่าๆ กันในทุกๆ ต้น โดยเราจะสามารถแบ่งแยกน้ำหนักบรรทุกใช้งานข้างต้นได้ออกเป็น น้ำหนักบรรทุกคงที่ใช้งานซึ่งมีขนาดเท่ากับ … Read More

ถึงวิธีในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการโพสต์เพื่อที่จะแชร์ความรู้และตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาว่า   “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE SUPPORT ดังนั้นผมจึงอยากที่จะทำการกำหนดให้จุดรองรับนั้นมีสภาพเป็นสปริงแบบยืดหยุ่นหรือ ELASTIC … Read More

ปัญหาการคำนวณหาแรงกระทำในเสาเข็มในกรณีที่มีระยะเยื้องศูนย์เกิดขึ้นในการตอกโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาที่ผมได้แชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปถึงเรื่อง เรื่องปัญหาของการก่อสร้างฐานรากโดยที่ใช้เสาเข็มแบบเดี่ยวว่าจะมีโอกาสสร้างปัญหาอะไรให้แก่เราได้บ้างซึ่งก็รวมถึงแนวทางในการแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมมีตอม่อ คสล ที่จะต้องทำหน้าที่ถ่ายน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งใช้งานรวม ซึ่งน้ำหนักดังกล่าวจะมีลักษณะเป็นแรงกระทำตามแนวแกนและมีค่าเท่ากับ 24 ตัน โดยที่ตอม่อต้นนี้จะถูกกำหนดให้มีการวางตัวอยู่บนฐานราก … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากมีกรณีๆ จากการทำงานจริงๆ ของผมกรณีหนึ่งที่เกิดขึ้นในการเจาะทดสอบตัวอย่างดิน ณ สถานที่ก่อสร้างแห่งหนึ่งในเขต กทม ของเรานี่เอง ซึ่งผมจึงคิดว่าน่าจะดีกว่าหากผมจะขอแทรกเนื้อหาในวันนี้โดยนำเอาประสบการณ์เหล่านี้มาแชร์และเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ ทุกคนในวันนี้ ดังนั้นวันนี้ผมจะขออนุญาตข้ามเนื้อหาตามปกติที่ผมตั้งใจจะนำมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปก่อน … Read More

ปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE นั่นเองนะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมมีโอกาสได้พาครอบครัวไปออกกำลังกายที่สวนสาธารณะแห่งหนึ่ง ซึ่งพอวิ่งไปรอบๆ บึงซึ่งมีลักษณะเป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่ได้มีการขุดเอาไว้ผมก็ไปพบกับอาคารชั้นเดียวอาคารหนึ่งซึ่งสร้างเอาไว้ค่อนข้างสูงจากระดับดิน ซึ่งก็น่าจะเกิดจากการออกแบบของสถาปนิกที่มีความต้องการที่จะให้ระดับใช้งานของอาคารหลังนี้อยู่เหนือระดับน้ำที่อาจจะมีระดับที่สูงมากๆ … Read More

1 7 8 9 10 11 12 13 29