ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดน่าสนใจและเรียนรู้แล้วได้ประโยชน์มากกว่ากัน

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดน่าสนใจและเรียนรู้แล้วได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More

กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS)

สวัสดีครับ Mr.เสาเข็ม มาพร้อมสาระความรู้ดีดี กันอีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) โดยเรื่องที่ผมจะมากล่าวถึงในวันนี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN) นั่นเองนะครับ โดยปกติแล้วทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์หาค่าผลการตอบสนองของโครงสร้างต่อ แรงกระทำ นั้นจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของค่าหน่วยแรง (STRESS) ที่เรามักจะทำการแทนค่าๆ … Read More

วิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ จนตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

ช่วงบ่ายๆแบบนี้เป็นเวลาดีนะครับ ที่ Mr.เสาเข็ม จะมาแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรมนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของวิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ จนตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก เป็นต้น โดยหากในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มนั้นเกิดการแตกหัก หรือ … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกันอีกแล้ว ในช่วง 4 โมง แบบนี้นะครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากอีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = … Read More

เพื่อนๆ รู้จัก TRANSFER BEAM หรือไม่ครับ ? ในวันนี้เราจะมาทำความรู้จักและเข้าใจถึงพฤติกรรมของกับ TRANSFER BEAM

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1300260796686709   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน เพื่อนๆ รู้จัก TRANSFER BEAM หรือไม่ครับ ? ในวันนี้เราจะมาทำความรู้จักและเข้าใจถึงพฤติกรรมของกับ TRANSFER BEAM กันเพิ่มเติมละกันนะครับ โครงสร้างจำพวก TRANSFER BEAM หรือ คานรับ นน ก็คือ … Read More

ค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY)

  ref:  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1301145146598274:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งบนเฟซบุ้คแห่งนี้ที่เพื่อนท่านนี้ได้หลังไมค์มาให้ผมช่วยอธิบายถึงค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY) ที่เรานิยมเขียนแทนด้วยค่า G นั่นเองครับ ค่าๆ นี้ถือเป็นปริมาณที่มีประโยชน์มากค่าหนึ่งในทางกลสาสตร์ของวัสดุ ซึ่งชื่อของมันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะครับว่าหากวัสดุใดที่มีคุณสมบัติค่าๆ นี้ที่สูง … Read More

สมการการเสียรูปของชิ้นส่วนซึ่งรับแรงตามแนวแกน (AXIAL DEFORMATION OF BARS)

ref: www.facebook.com/bhumisiam/   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ คน วันนี้ผมมีโอกาสได้คุยกับรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่กำลังเตรียมตัวจะสอบเลื่อนขั้น ก็พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องความรู้ในระดับพื้นฐาน และ ขั้นสูงต่างๆ ที่ผมได้นำมาเล่าและทบทวนให้แก่เพื่อนๆ ไปว่าเรื่องใดเป็นเรื่องสำคัญ เรื่องใดควรที่จะทบทวน ผมก็พบว่า น้องคนนี้รวมถึงวิศวกรหลายๆ ท่านไม่ทราบหรืออาจจะแค่ลืมถึงทฤษฎีพื้นฐานที่มีความสำคัญหลายๆ อย่างไปจากตอนที่เรียน ซึ่งปัญหาของการหลงลืมสิ่งเหล่านี้ก็คือทฤษฎีพื้นฐานเหล่านี้จะมีผลสำคัญต่อการนำความรู้ไปต่อยอดในระดับสูงนั่นเอง ผมจึงคิดว่าในช่วงเวลาต่อไปนี้ ผมจะทำการนำพื้นฐานความรู้ต่างๆ มาทบทวนให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การทดสอบค่า หน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว

ref:  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1308100699236052     สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมโพสต์เกี่ยวกับค่าหน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว และ มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งถามผมมาว่าจากในรูปที่ผมแนบมาด้วยนั้น (ดูรูปที่ 1) เป็นรูปการทดสอบค่าๆ นี้หรือไม่ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามข้อนี้นะครับ ประการแรกเลยนะครับ คำตอบ คือ ใช่ครับ การทดสอบหาค่าๆ … Read More

การเสริมเหล็กทางด้านข้างของคาน หรือ ที่เราเรียกว่า SIDE FACE REINFORCEMENTS หรือบางครั้ง WEB REINFORCEMENT

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1309091279136994   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามยอดฮิตคำถามหนึ่งที่ผมมักได้รับตลอดช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา ก็คือเรื่อง การเสริมเหล็กทางด้านข้างของคาน หรือ ที่เราเรียกว่า SIDE FACE REINFORCEMENTS หรือบางครั้ง WEB REINFORCEMENT นั่นเองครับ หากเราต้องทำการออกแบบคานที่มีขนาดค่อนข้างที่จะลึกๆ แต่ก็ไม่ถึงกับเข้าข่ายเป็นคานลึก (DEEP BEAM) … Read More

รายละเอียดของการเสริมเหล็ก SIDE FACE REINFORCEMENT หรือ WEB REINFORCEMENT

    ref:  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1310554715657317   สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ทราบถึงรายละเอียดของการเสริมเหล็ก SIDE FACE REINFORCEMENT หรือ WEB REINFORCEMENT นั่นเองครับ ประโยชน์ของเหล็กเสริมตัวนี้ก็เพื่อป้องกันการแตกร้าวของผิวคอนกรีตเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่มีความรุนแรงซึ่งอยู่รอบข้าง เช่น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่รุนแรง … Read More

1 2 3 4 5 6