STEEL BUCKLING RETSTRAINED BRACE

STEEL BUCKLING RETSTRAINED BRACE สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ วันนี้ผมได้ทำการนำเสนอผลงานการวิจัยเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว … Read More

งานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

วิธีการออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเทคนิคก่อสร้างในกรณีที่เรานั้นทำงานการต่อเติมบ้านเรือนหรืออาคารใหม่หลังหนึ่ง ชิด กันกับอีกอาคารหลังหนึ่งซึ่งเป็นอาคารที่มีอยู่เดิม นั่นก็คือ การกั้นระหว่างส่วนที่โครงสร้างนั้นอยู่ชิดกันของทั้ง 2 อาคารด้วยแผ่นโฟม … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต โดยที่ฐานรากยังเป็นฐานรากจม แต่ ปัญหาที่เรามักพบสำหรับกรณีนี้ คือ ความยาวของ เสาเข็มคอนกรีต และ เสาเข็มเหล็ก นั้นจำเป็นต้องใช้เท่ากันหรือไม่ … Read More

ทิศทางที่มีการวางตัวอยู่บนคาน หรือ ON BEAM TWO WAY SLAB

ทิศทางที่มีการวางตัวอยู่บนคาน หรือ ON BEAM TWO WAY SLAB สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงกรณีของการออกแบบชนิดทั่วๆ ไปในเรื่อง วิธีในการออกแบบระยะการเรียงตัวของเหล็กเสริมในแผ่นพื้นทั้งแบบทางเดียวและสองทางหลังจากที่เราได้ปริมาณของเหล็กเสริมใช้งานมาแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อให้เพื่อนๆ … Read More

การถมที่ในพื้นที่ลุ่มต่ำและปัญหาการทรุดตัว

การถมที่ในพื้นที่ลุ่มต่ำและปัญหาการทรุดตัว   ลักษณะการทรุดตัวเวลาของชั้นดินเหนียวอ่อนจากน้ำหนักดินถม กรณีการทรุดตัวตามธรรมชาติและกรณีการปรับปรุงดินเหนียวอ่อนด้วยวิธีต่างๆ การทรุดตัวเนื่องจากการการไหลของดินออกด้านข้าง (Lateral Shear Flow) เกิดขึ้นเมื่อน้ําหนักดินถมมากกว่ากําลังรับแรงเฉือนของดินฐานราก ทําให้ดินเหนียวเกิดการครากบางส่วน ดินจะไหลออกไปทางด้านข้างและโครงสร้างจะยุบตัวลง ถ้าดินเหนียวครากมากจนระบบเสียสมดุล ดินถมดังกล่าวก็จะสไลด์และพิบัติอย่างไรก็ตามในกรณีที่การถมดินไม่สูงมากนักและถมเป็นบริเวณกว้าง การทรุดตัวในลักษณะนี้จะไม่เกิดขึ้น   การทรุดตัวของดินถมเนื่องจากการครากของมวลดินบางส่วนและไหลตัวออกทางด้านข้าง(Lateral Shear Flow) การทรุดตัวเนื่องจากากรสูบน้ำบาดาล จะเกิดเป็นพื้นที่ใหญ่กว้าง … Read More

ผลการตอกเสาเข็มในชั้นดินเหนียวบริเวณกรุงเทพ จะเกิดผลกระทบพอสรุปได้ดังนี้

ผลการตอกเสาเข็มในชั้นดินเหนียวบริเวณกรุงเทพ จะเกิดผลกระทบพอสรุปได้ดังนี้ การสั่นสะเทือนของการตอกเข็มทําให้กําลังของดินเสียไปประมาณ 28% ของ Undisturbed Strength ซึ่งวัดโดย field vane test ระยะที่กระทบกระเทือนต่อ Undrain Shear Strength นั้นห่างจากผิวเสาเข็มโดยประมาณเท่ากับระยะเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็ม กำลังของดินที่เสียไปจะกลับคืนมา หลังจากการตอกเสาเข็มแล้ว 14 วัน … Read More

เสาเข็มไมโครไพล์ และ การตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม รับประกัน 7 ปี

เสาเข็มไมโครไพล์ และ การตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม รับประกัน 7 ปี สำหรับงานต่อเติม เสาเข็มไมโครไพล์ จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด เพราะสามารถ ตอกในพื้นที่ที่จำกัดได้ แรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลเสียต่อตัวบ้าน แม้จะตอกชิดริมกำแพงก็ตามก็สามารถตอกได้ และหน้างานสะอาด ไม่จำเป็นต้องขุดเจาะดินขึ้นมา สามารถทำงานในที่แคบได้เพราะเราใช้ปั้นจั่นที่มีการออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อใช้สำหรับเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (เสาเข็มเพื่อการต่อเติม)โดยความสูงของปั้นจั่นมีลักษณะสูงไม่เกิน 3 เมตร … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ | FORCE BASED DESIGN

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด … Read More

ชนิดของเสาเข็มแต่ล่ะชนิด

ชนิดของเสาเข็ม ถ้าจำแนกเสาเข็มตามวัสดุที่ใช้ทําและการใช้งานสามารถแบ่งออกได้เป็น เสาเข็มไม้ เสาเข็มไม้ตามปกติเป็นไม้เบญจพรรณ ตัดกิ่งและทุบเปลือกออก ตอนตอกเจาะด้าน-ปลาย ลงต้องมีลําต้นตรง ไม้ผุหรือมีราขึ้น เสาเข็มไม้จะต้องทุบเปลือกหรือถากเปลือกออกทั้งหมด ตาไม้ต่าง ๆ จะ ตองตัดให้เรียบเสมอฝั่งของต้นเสาเข็ม ปลายและหัวเสาเข็มจะต้องเลื่อยตัดเรียบได้ฉากกับลําต้น เสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จ เสาเข็มคอนกรีตหล่อสําเร็จ ตามปกติเรามักจะหล่อเสาเข็มในโรงงานก่อน เมื่อคอนกรีตได้ อายุแล้ว ค่อยขนย้าย … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG | FLEXIBLE PAVEMENT STRUCTURE

เรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG  จริงๆ แล้วเนื้อหาในวันนี้ที่ผมจะนำมาโพสต์จะไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการทดสอบดินเท่าใดนักเพียงแต่เป็นเพราะเมื่อสองวันก่อนมีรุ่นน้องของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาสอบถามกับผมเกี่ยวกับเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง โครงสร้างรองทางแบบมีความยืดหยุ่น หรือ FLEXIBLE PAVEMENT STRUCTURE ซึ่งพอได้มีการพูดถึงเรื่องๆ หนึ่งก็คืองานดิน ก็ได้มีการพูดคุยกันถึงเรื่องวัสดุรองชั้นทาง หรือ SUBGRADE MATERIAL ของงานถนน ซึ่งผมก็ได้ให้คำอธิบายในเบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

1 2 3 4 6