บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มไมโครไพล์ เพื่อการต่อเติม หมดกังวัง อาคารข้างเคียงร้าว เป็นที่นิยมจากวิศวกรและกลุ่มผู้รับเหมาทั่วไป มั่นใจเรียกใช้ภูมิสยามฯ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คุณภาพมาตรฐาน มอก.

เสาเข็มไมโครไพล์ เพื่อการต่อเติม หมดกังวัง อาคารข้างเคียงร้าว เป็นที่นิยมจากวิศวกรและกลุ่มผู้รับเหมาทั่วไป มั่นใจเรียกใช้ภูมิสยามฯ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คุณภาพมาตรฐาน มอก. จะสร้างอาคารในเมือง 6 ชั้น ต้องการเสา Dowel ท่อนสุดท้ายฝังเหล็กไวด์แฟรงค์ ขนาด 20×20 cm. ลงในเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ขนาด … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างว่าโครงสร้างที่เรากำลังทำการพิจารณาอยู่นั้นมีคุณลักษณะทางด้าน เสถียรภาพ (STABILITY) และ ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั้นสามารถทำได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE) หรือ ต้องทำโดยวิธีอย่างยาก (INDETERMINATE) แก่เพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ครั้งก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่หัวข้อประเภทของโครงสร้างที่ผมตั้งใจนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ จะเป็นการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM) นั่นเองนะครับ โดยสมมติฐานของการวิเคราะห์คานนั้นเกือบที่จะเหมือนกับโครงสร้างโครงถักก่อนหน้านี้นะครับ … Read More

งานดีดบ้าน อาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี

ตัวอย่างงานที่ใช้เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เป็นงานซ่อมแซมอาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ซึ่งทรุดโทรมมากเพราะมีอายุหลายสิบปีเริ่มตั้งแต่สร้างมา และผ่านเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่มาหลายรอบ ทางสำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ต้องการที่จะอนุรักษ์อาคารไม้หลังเก่าเอาไว้ จึงได้ให้ผู้รับเหมาเข้ามาปรับปรุงอาคารไม้หลังนี้ แอดมินเห็นว่างานนี้เป็นงานที่น่าสนใจมากในการนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์มาใช้ ก็เลยนำมาเขียนเป็นตัวอย่างให้ดูกันครับ ผู้รับเหมาที่รับผิดชอบงานนี้ก็เลยนำเอา เหล็กเอชบีม (H-Beam) มาใช้ทำเป็นโครงสร้างแทนโครงสร้างไม้ของเดิมที่เริ่มผุพัง … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

1 84 85 86 87 88 89 90 174