บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ภูมิสยามฯ ผ่านการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015

ภูมิสยามฯ ผ่านการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 รัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศไทยเยอรมัน ให้การต้อนรับ พัฒนพิทักษ์ … Read More

เสาเข็มไมโครไพล์ และ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ใช้แล้วดีอย่างไร 

เสาเข็มไมโครไพล์ และ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ใช้แล้วดีอย่างไร  สำหรับงานต่อเติม เสาเข็มไมโครไพล์ จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด เพราะสามารถ ตอกในพื้นที่ที่จำกัดได้ แรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลเสียต่อตัวบ้าน แม้จะตอกชิดริมกำแพงก็ตามก็สามารถตอกได้ และหน้างานสะอาด ไม่จำเป็นต้องขุดเจาะดินขึ้นมา สามารถทำงานในที่แคบได้เพราะเราใช้ปั้นจั่นที่มีการออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อใช้สำหรับเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (เสาเข็มเพื่อการต่อเติม)โดยความสูงของปั้นจั่นมีลักษณะสูงไม่เกิน 3 เมตร เหมาะกับการต่อเติมบ้าน, แก้ไขปัญหาอาคารทรุด, ปรับปรุงโรงงานไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อช่วงก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามผ่านเข้ามาทางช่องทางข้อความส่วนตัวของผมซึ่งคนที่ถามนั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งคำถามก็มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนรายละเอียดต่างๆ ในการเสริมเหล็กในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยที่มีใจความของคำถามดังนี้ครับ “หากเดิมทีในแบบวิศวกรรมโครงสร้างได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนว่า ให้ใช้คอนกรีตและเหล็กเสริมเป็นชั้นคุณภาพแบบใด ใช้ขนาดและจำนวนเป็นเท่าใด ไม่ทราบว่าหากผู้รับเหมาจะขอทำการเปลี่ยนในเรื่อง ชั้นคุณภาพ ขนาด … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากในโพสต์เมื่อหลายวันที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายถึงลักษณะและประเภทของโครงถักเหล็กให้เพื่อนๆ ได้ทราบและรู้จักกันในเบื้องต้นกันไปแล้ว … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 174