ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ DIFFERENTIAL EQUATION
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More
ทฤษฎีของคานรับแรงดัด หรือ BEAM THEORY
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้กับเพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ของเมื่อวานนะครับ เพราะ มีเพื่อนๆ ท่านหนึ่งถามผมมาว่า เมื่อในโครงสร้างปกติค่าการเสียรูปอันเกิดจากผลของแรงเฉือนจะมีค่าที่น้อยมากๆ เมื่อเทียบกันกับผลที่เกิดจากแรงดัด แล้วเมื่อใดกันที่เราจะต้องคำนึงถึงเรื่อง SHEAR DEFORMATION ในโครงสร้าง ? จริงๆ แล้วคำถามนี้เป็นคำถามที่ดีนะครับ ผมขอชมเชยผู้ตั้งคำถามนี้ด้วยครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออธิบายถึงคำถามข้อนี้พอสังเขปดังนี้นะครับ หากย้อนอดีตกันสักเล็กน้อย เมื่อตอนที่พวกเราเรียนในวิชาจำพวก … Read More
ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้เกิดเหตุปัญหาต่างๆ ขึ้นและผมก็ได้ช่วยให้คำตอบแก่แฟนเพจไป ในที่สุดวันนี้เราก็ได้กลับมาเข้าสู่การโพสต์เนื้อหาตามปกติแล้วนะครับ ซึ่งในครั้งสุดท้ายที่ผมได้โพสต์ก็คือ ประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ทั้งกรณีแบบที่มีน้ำใต้ดินและไม่มีน้ำใต้ดิน ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายต่อถึงหัวข้อที่ว่า หากเราไม่ได้ทำการเก็บตัวอย่างของดินมาเพื่อทำการทดสอบหาคุณสมบัติต่างๆ ภายในห้องปฏิบัติการแล้วเราจะมีวิธีการอื่นๆ … Read More
ปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE นั่นเองนะครับ สืบเนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมมีโอกาสได้พาครอบครัวไปออกกำลังกายที่สวนสาธารณะแห่งหนึ่ง ซึ่งพอวิ่งไปรอบๆ บึงซึ่งมีลักษณะเป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่ได้มีการขุดเอาไว้ผมก็ไปพบกับอาคารชั้นเดียวอาคารหนึ่งซึ่งสร้างเอาไว้ค่อนข้างสูงจากระดับดิน ซึ่งก็น่าจะเกิดจากการออกแบบของสถาปนิกที่มีความต้องการที่จะให้ระดับใช้งานของอาคารหลังนี้อยู่เหนือระดับน้ำที่อาจจะมีระดับที่สูงมากๆ … Read More