บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More

การจำแนกประเภทของการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ไปในหัวข้อ ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ซึ่งเนื้อหาจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยว เลยทำให้ผมนึกถึงคำถามที่ผมเคยได้รับมาสักพักก่อนนี้ว่า   “หากเราทำการทดสอบและคำนวณดูแล้วพบว่า เสาเข็มของเราจะมีทั้งความสามารถในการรับแรงเนื่องจากทั้งแรงฝืดและแรงแบกทานในเวลาเดียวกัน … Read More

เมื่อทำการเทคอนกรีตในแบบเสร็จ แล้วทำการแกะแบบออกมา จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งซึ่งหากว่าพวกเรานั้นเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ใช้งานอาคาร ก็อาจจะไม่เคยมีโอกาสได้พบเจอกับปัญหาๆ นี้กันเลยนะครับนั่นก็เป็นเพราะว่าปัญหานี้จะเกิดเฉพาะตอนที่ทำการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเท่านั้น นั่นก็คือ การที่เมื่อทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบเสร็จแล้วทำการแกะแบบออกมาก็จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป ซึ่งในบางครั้งก็อาจจะทำให้เห็นเหล็กเสริมภายในชิ้นส่วนโครงสร้างเลยก็ได้ ซึ่งแน่นอนที่สุดว่าหากปล่อยเอาไว้ให้อยู่ในสภาพเช่นนี้นานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคตแก่โครงสร้างนั้นๆ ได้นะครับ   จริงๆ แล้วสาเหตุของปัญหาๆ นี้อาจมีอยู่ด้วยกันหลายประการเลยนะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า ผมมีฐานราก คสล อยู่ … Read More

1 53 54 55 56 57 58 59 174