บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ฐานราก (FOOTING) แบ่งออกได้เป็นกี่ชนิด แต่ละชนิดมีอะไรบ้าง

ฐานราก (Footing) ทำหน้าที่รับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่เสาเข็มหรือดินโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานรากควรมีความสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกได้โดยไม่เกิดการเคลื่อนตัวหรือพังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุดตัวลงมากจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากซึ่งลึกจากระดับผิวดินน้อยกว่า หรือเท่ากับด้านที่สั้นที่สุดของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื้นดินท่ีมีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินท่ีตอกเสาเข็มไม่ลงหรืออย่างยากลำบาก เช่น … Read More

หลักการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงหลักการพื้นฐานที่เราใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง ซึ่งเป็นหลักการง่ายๆ ที่มีความตรงไปตรงมา แต่ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์โครงสร้างมากๆ นะครับ นั่นก็คือเรื่องทฤษฎีของ SUPERPOSITION นั่นเองครับ หลักการของ SUPERPOSITION เป็นแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีของการวิเคราะห์โครงสร้าง โดยที่มีข้อกําหนดว่าในการแอ่นตัว และ หมุนตัว (DISPLACEMENT) และ … Read More

การคำนวณค่าแรงแบกทาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่านครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องค่าแรงแบกทานที่ยอมให้ของดินซึ่งจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อเรานำค่าๆ นี้ไปออกแบบระบบฐานรากวางบนดิน ก้ได้รับข้อความหลังไมค์มาสอบถามเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอสมควรนะครับ ผมจึงคิดว่าวันนี้จะมายก ตย ถึงการคำนวณในเรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ มาเริ่มต้นดูรูปที่ 1 ก่อนนะครับ ฐานรากวางบนดินที่เราจะทำการออกแบบนี้มีขนาดความกว้าง 4 m ความยาว 6 m รับ นน … Read More

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล ในรูปจะเป็นรูปเคเบิ้ลที่ถูกขึงอยู่ระหว่างจุด X และ X’ ซึ่งระดับของตำแหน่ง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากันทำให้เมื่อเคเบิ้ลนี้เกิดการเสียรูปไปตามแรงโน้มถ่วงจนมีตำแหน่งที่เคเบิ้ลนั้นเกิดการหย่อนตัวลงไปต่ำที่สุด ณ จุดกึ่งกลางของเคเบิ้ลพอดี โดยมีระยะการเสียรูปนี้เท่ากับ 5000 mm หรือ 5 m ระยะห่างระหว่าง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากับ … Read More

1 50 51 52 53 54 55 56 174