บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สิ่งที่ QC ควรต้องทำการตรวจสอบเมื่อทางโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากวันนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน และ ได้ให้คำแนะนำแก่ ผรม เรื่องที่หน้างานจำเป็นจะต้องมี QC เพื่อคอยทำการตรวจรับเมื่อเสาเข็มเมื่อโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างาน ผมคิดว่าน่าจะมีประโยชน์จึงคิดว่านำมาฝากเพื่อนๆ ด้วยก็น่าจะเป็นการดีนะครับ สิ่งที่ QC ควรต้องทำการตรวจสอบเมื่อทางโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างานควรประกอบด้วยรายการพิจารณาต่อไปนี้นะครับ … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) มีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 21, 25, 30 เซนติเมตร มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบผลิตโดยใช้กรรมวิธีการแรงเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงและเกิดรูกลมกลวงตรงกลางจากแรงเหวี่ยง จึงมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา ความหนาของเนื้อคอนกรีตอยู่ในช่วง 8-10 เซนติเมตร มีความยาวต่อท่อน … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 68

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า   ข้อที่ 68   จากโครง Truss ที่แสดง แรงภายในชิ้นส่วน HB เท่ากับ   … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากในโพสต์เมื่อหลายวันที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายถึงลักษณะและประเภทของโครงถักเหล็กให้เพื่อนๆ ได้ทราบและรู้จักกันในเบื้องต้นกันไปแล้ว … Read More

1 49 50 51 52 53 54 55 174