บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ ใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam … Read More

การแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure ในโปรแกรม STAAD.PRO

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานที่ผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับการแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure แก่เพื่อนๆ ไป บังเอิญว่ามีเพื่อนผมท่านหนึ่งได้มาคอมเม้นต์ว่าให้ลองทำการ APPLY ปัญหาข้อนี้ในโปรแกรม MICROFEAP รุ่น P1 ดู ผมต้องเรียนขออภัยเพื่อนท่านนี้มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ เพราะตัวผมนั้นไม่ได้ใช้โปรแกรมนี้ ผมเป็นเพียงผู้ติดตามผลงานและชื่นชอบในตัวท่าน … Read More

ประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการขยายความและอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันถึงประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูงในหลายๆ แง่หลายๆ มุมกันบ้างนะครับ โดยที่ผมได้ทำการแบ่งประโยชน์และข้อดีของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง (HIGH STRENGTH STRUCTURAL STEEL) … Read More

สรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงเรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ให้เพื่อนๆ ได้มีโอกาสรับทราบกันไปแล้ว รวมถึงเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผมยังได้ทำการหยิบยกเอาประเด็นเรื่องผลของระดับน้ำใต้ดินที่มีต่อค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินมาเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อทำความเข้าใจเพิ่มเติมไปแล้วด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดินนี้โดยจะทำการแบ่งกรณีของน้ำใต้ดินนี้ออกเป็นกรณีๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนจะได้เข้าใจและนำไปใช้ในการคำนวณได้ถูกต้องนั่นเองครับ   เพราะฉะนั้นก่อนที่ผมจะเริ่มต้นทำการอธิบาย … Read More

1 37 38 39 40 41 42 43 174