หากเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS)
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมต่อเนื่องจากเรื่องราวของฐานรากแผ่ที่ผมเคยโพสต์ไว้สักพักแล้วนะครับว่า “หากเราเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS) จะทำให้พฤติกรรมของฐานรากนี้เปลี่ยนไปหรือไม่ ? การออกแบบนั้นจะยุ่งยากเพิ่มขึ้นมากหรือไม่ และ เราควรพิจารณาทำการออกแบอย่างไรจึงจะเหมาะสม” ก่อนอื่นผมขอชื่นชมน้องท่านนี้ก่อนนะครับว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่ดีและน่าสนใจมาก … Read More
ความรู้และวิธีการอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาที่ผมอยู่ที่ไต้หวันได้มีเพื่อนบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้สอบถามกันเข้ามาถึงเรื่องๆ หนึ่งและผมก็ได้รับปากว่า เมื่อใดที่ผมกลับมาที่ประเทศไทยเมื่อใดผมจะรีบดูให้ ซึ่งประเด็นและใจความของคำถามข้อนี้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE … Read More
สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More
ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณหรือ BEAM BEARING PLATE
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เอาอีกแล้ว ในสัปดาห์นี้ผมก็ยังคงตั้งใจที่จะทำการขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่สืบเนื่องจากผมได้รับการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับคำถามว่า ที่ผ่านมาผมได้ทำการพูดถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณหรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วแต่เท่าที่ติดตามอ่านบทความดู ผมยังไม่ได้พูดถึงกรณีของโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณหรือ BEAM BEARING PLATE เลย … Read More