บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สร้างใหม่ ไว้ใจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก.

สร้างใหม่ ไว้ใจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก. เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการก่อสร้าง เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก เพื่อความมั่นคงแข็งแรง ถูกออกแบบมาเพื่อเสริมความสามารถในการรับนํ้าหนักโดยเฉพาะ โดยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ในการตอกเสาเข็มให้ลึกถึงชั้นดินทราบแข็ง และสามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น -สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว -ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง

การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ วันนี้ผมมีรูป ตัวอย่าง ที่เกิดขึ้นจริงสำหรับกรณีที่โครงสร้างอาคารนั้นเกิดการวิบัติอันเนื่องมาจากไม่สามารถต้านทานต่อ นน … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ พอดีว่ามีเพื่อนท่านหนึ่งได้เข้ามาปรารภและสอบถามกับผมว่า ตามปกติแล้วเพื่อนของผมท่านนี้มักจะออกแบบพื้น คสล แบบมีคานรองรับแต่มาวันนี้เพิ่งจะมีโอกาสได้ทำการออกแบบพื้น คสล แบบไม่มีคานรองรับบ้าง พอเปิดหนังสือดูจึงเกิดความมึนงงและสับสนเป็นอย่างมาก เลยทำให้เกิดความฉงนสงสัยขึ้นมาว่า เพราะเหตุใดสมมติฐานและวิธีในการออกแบบแผ่นพื้นแบบที่มีและไม่มีคานรองรับจึงมีรายละเอียดและวิธีการที่ค่อนข้างจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเลย ?   … Read More

1 31 32 33 34 35 36 37 174