บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ภูมิสยาม จับมือกับกรุงเทพประกันภัย ประกันความเสียหายระหว่างการตอกเสาเข็ม และรับประกันผลงานนานถึง 7 ปี

ภูมิสยาม รับประกันผลงานนานถึง 7 ปี พร้อมจับมือกับกรุงเทพประกันภัย ประกันความเสียหายระหว่างการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micropile ประกันผลงานนานถึง 7 ปี จากการให้บริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยประกันคุ้มครองความเสียหายจากการรับน้ำหนักของเสาเข็มตามที่วิศวกรออกแบบและคำนวณไว้ตามหลักวิศวกรรม ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นจากการที่เสาเข็มไม่สามารถรับน้ำหนักตามที่วิศวกรได้คำนวณไว้ บริษัทฯ ยินดีทำการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งหมดตามความเสียหายที่แท้จริง ทั้งนี้ไม่เกินมูลค่าตามที่ในระบุในสัญญาว่าจ้าง (เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทฯกำหนด) และภูมิสยามฯจับมือกับกรุงเทพประกันภัย … Read More

Puzzle 115

Puzzle 115 วันนี้ Miss.Spunpile มีปริศนา ทายคำจากรูปภาพ มาให้เพื่อนๆลองทายกันดูค่ะ มีเฉลยอยู่ด้านล่าง แต่ห้ามเปิดดูก่อนนะคะ Miss Spunpile  Bhumisiam (ภูมิสยาม) บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน … Read More

สาเหตุของการเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ก่อนที่คอนกรีตจะเริ่มแข็งตัว

การแตกร้าวของคอนกรีตเป็นปัญหาที่ไม่มีใครอยากจะให้เกิดขึ้น แต่บางครั้งถ้าหากเทคอนกรีตไม่ถูกวิธีก็อาจจะสร้างรอยร้าวขึ้นมาได้ ในบล็อกนี้ได้เอาปัญหาการแตกร้าวของคอนกรีตก่อนที่ของคอนกรีตจะเริ่มแข็งตัวมาให้ได้อ่านกัน ซึ่งรอยร้าวชนิดนี้จะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 2 – 8 ชั่วโมง ภายหลังจากการเทคอนกรีต โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดรอยแตกร้าวชนิดนี้แบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้ดังนี้ การขยับตัวของแบบหล่อคอนกรีต (Form or Subgrade Movement) รอยร้าวชนิดนี้มีสาเหตุมาจากความชื้น ซึ่งจะทำให้แบบพองตัวหรือแบบอาจไม่แข็งแรงพอรับน้ำหนักของคอนกรีตได้ อย่างไรก็ตามวัสดุยึดตรึงแบบ ไม่ว่าจะเป็นตะปู … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้าง DiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงระบบโครงสร้างระบบหนึ่งที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้างส่วนหนึ่งของอาคารที่จะมีการตั้งอยู่ใต้ระดับดินลงไปมากๆ เช่น ที่จอดรถใต้ดิน หรือ อาคารรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น ระบบนั้นก็คือ ระบบกำแพงรับแรงดัน หรือที่พวกเรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า DIAPHRAGM WALL … Read More

1 2 3 4 5 6 174