บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ประการแรกนะครับ เพื่อนๆ ควรที่จะให้วิศวกรทำการคำนวณหา นน บรรทุกที่จะลงมายังเสาเข็มของเพื่อนๆ เสียก่อน ซึ่งโดยปกติแล้วหากเราจะทำการต่อเติมอาคารบ้านเรือนของเรา จะ 1 ชั้น 2 ชั้น หรือว่า 3 ชั้น ก็แล้วแต่ หากวิศวกรเลือกวางระยะห่างของตอม่อให้มีความปกติ หรือ … Read More

วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นะครับ   หากจะให้อธิบายให้เข้าใจให้ง่ายๆ ในขันตอนนี้เราทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์เพื่อหาระดับของผลตอบสนองต่างๆ ที่โครงสร้างของเรานั้นจะมีต่อแรงแผ่นดินไหวที่เข้ามากระทำต่ออาคารของเรานั่นเองนะครับ   หากทำการตั้งคำถามว่าเพราะเหตุใดเราถึงต้องสนใจค่าผลตอบสนองของโครงสร้าง ? หากจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ … Read More

ต้องการ ตอกเสาเข็มต้นสองต้น ทำฐานป้อม รปภ. ต้องการใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มอก. ของ BSP-Bhumisiam (ภูมิสยาม) รับตอกไหมครับ ?

ต้องการ ตอกเสาเข็มต้นสองต้น ทำฐานป้อม รปภ. ต้องการใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มอก. ของ BSP-Bhumisiam (ภูมิสยาม) รับตอกไหมครับ ? รับครับ BSP ภูมิสยาม พร้อมบริการ ทีมงานเราบริการทุกระดับครับ ต้นเดียวหรือหลายร้อยต้นปรึกษาเราได้ครับ ตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อย เพราะเสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ … Read More

วิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่ และเก่าโดยไม่ใช้โฟม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยโพสต์เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนของการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่และเก่าโดยไม่ใช้โฟม แต่ ผมได้แนะนำให้เพื่อนๆ นั้นใช้เป็นวัสดุอื่นๆ แทน เช่น แผ่นสมาร์ทบอร์ด แผ่นไม้อัด เป็นต้น วันนี้ผมจึงได้นำรูปภาพจริงๆ จากการแก้ไขงานตรงนี้ของทาง … Read More

1 162 163 164 165 166 167 168 174