บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ระดับของการสั่นสะเทือน ที่ยอมให้นำมาใช้ในการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ สืบเนื่องจากการที่มีน้องๆ ได้แจ้งความจำนงมาที่หลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้นำเสนอและเล่าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบทางด้านพลศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร (DESIGN OF MACHINE FOUNDATION) ให้ได้รับทราบกันบ้าง ตัวของผมเองก็เล็งเห็นว่าน่าที่จะมีประโยชน์ จึงคิดว่ามีความคุ้มค่าที่จะสละเวลามาเล่าและแชร์ความรู้ในเรื่องๆ นี้ให้แก่น้องๆ … Read More

ทำไมต้องใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ปรับปรุงฐานรากอาคารเก่า หรือ งานรีโนเวทฐานรากอาคารเก่า

ทำไมต้องใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ปรับปรุงฐานรากอาคารเก่า หรือ งานรีโนเวทฐานรากอาคารเก่า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ แท้โดยภูมิสยาม มีความแข็งแกร่งสูง จากการสปันคอนกรีตในแบบหล่อที่แข็งแรง เสาเข็มได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. 397-2524 มีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อระบายดิน สามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ จึงเหมาะสำหรับการต่อเติม ปรับปรุงอาคาร … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ทางเลือกสำหรับ ต่อเติมอาคารขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ 

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ทางเลือกสำหรับ ต่อเติมอาคารขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่  ต้องการต่อเติมอาคาร หรือขยายอาคาร แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มรูปแบบใหม่ที่มีคุณภาพสูง เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ สามารถรับน้ำหนักได้ทันที เหมาะกับอาคารที่ต้องการชดเชยความแข็งแรงอย่างรวดเร็ว เสริมฐานรากให้มีความมั่นคงแข็งแรง รับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย เข้าตอกได้โดยไม่กระทบต่อโครงสร้างอาคารข้างเคียง ได้รับการรับรองมาตรฐาน … Read More

ทฤษฎีของคานรับแรงดัด หรือ BEAM THEORY

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้กับเพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ของเมื่อวานนะครับ เพราะ มีเพื่อนๆ ท่านหนึ่งถามผมมาว่า เมื่อในโครงสร้างปกติค่าการเสียรูปอันเกิดจากผลของแรงเฉือนจะมีค่าที่น้อยมากๆ เมื่อเทียบกันกับผลที่เกิดจากแรงดัด แล้วเมื่อใดกันที่เราจะต้องคำนึงถึงเรื่อง SHEAR DEFORMATION ในโครงสร้าง ? จริงๆ แล้วคำถามนี้เป็นคำถามที่ดีนะครับ ผมขอชมเชยผู้ตั้งคำถามนี้ด้วยครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออธิบายถึงคำถามข้อนี้พอสังเขปดังนี้นะครับ หากย้อนอดีตกันสักเล็กน้อย เมื่อตอนที่พวกเราเรียนในวิชาจำพวก … Read More

1 141 142 143 144 145 146 147 174