บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็ม รับพื้นในโรงงาน ใช้เสาเข็ม แบบไหนดีครับ? แล้ว สปันไมโครไพล์ BSP ภูมิสยาม ดีอย่างไร ?

ตอกเสาเข็ม รับพื้นในโรงงาน ใช้เสาเข็ม แบบไหนดีครับ? แล้ว สปันไมโครไพล์ BSP ภูมิสยาม ดีอย่างไร ? แนะนำ เสาเข็มประเภท สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ครับ อย่าลืมว่า ต้องมีคำว่า … Read More

การทดสอบค่า หน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว

ref:  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1308100699236052     สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมโพสต์เกี่ยวกับค่าหน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว และ มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งถามผมมาว่าจากในรูปที่ผมแนบมาด้วยนั้น (ดูรูปที่ 1) เป็นรูปการทดสอบค่าๆ นี้หรือไม่ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามข้อนี้นะครับ ประการแรกเลยนะครับ คำตอบ คือ ใช่ครับ การทดสอบหาค่าๆ … Read More

หน่วยแรงเฉือนตามแนวยาวในโครงสร้างคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเหล็กรูป C-LIGHT LIP อยู่คู่หนึ่งและเมื่อได้ทำการออกแบบให้โครงสร้างคานนี้มีสมรรถนะที่ดีทั้งในสภาวะกำลังและสภาวะการใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผมจึงทำการคำนวณค่า MAXIMUM … Read More

งานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

วิธีการออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเทคนิคก่อสร้างในกรณีที่เรานั้นทำงานการต่อเติมบ้านเรือนหรืออาคารใหม่หลังหนึ่ง ชิด กันกับอีกอาคารหลังหนึ่งซึ่งเป็นอาคารที่มีอยู่เดิม นั่นก็คือ การกั้นระหว่างส่วนที่โครงสร้างนั้นอยู่ชิดกันของทั้ง 2 อาคารด้วยแผ่นโฟม … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 174