บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

Puzzle91

แกนโลกเอียงกี่องศาครับ 23.5 หรือ 22.5 ?  เฉลยอยู่ด้านล่างนะครับ ภูมิสยามฯ ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมันเสาเข็มที่รองรับงานต่อเติมเพื่อป้องกันการทรุด ตามที่วิศวกรออกแบบ ทุกวันนี้จะนิยมใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกที่เป็นไปตาม มาตรฐาน ISO … Read More

วิธีการสังเกตเพื่อป้องกันมิให้เหล็กเสริมในพื้นหล่อในที่เกิดสนิมเนื่องมาจากน้ำเกิดการรั่วซึม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ จริงๆ ผมมีข้อเสนอแนะสำหรับบรรดาคุณผู้หญิงทั้งหลายว่า หากบังเอิญว่าท่านเป็นแม่บ้านหรืออาจจะเป็นผู้หญิงที่ต้องทำงานนอกบ้าน ทำให้ไม่ค่อยมีเวลาที่จะอยู่บ้านมากมายอะไรนักก็ตาม ท่านก็มีวิธีการในการที่จะช่วยคุณผู้ชายดูแลเรื่องความเรียบร้อยต่างๆ ภายในบ้านได้เช่นกัน ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ วิธีการสังเกตเพื่อป้องกันเรื่องเหล็กเสริมในพื้นหล่อในที่นั้นเกิดสนิมเนื่องมาจากน้ำนั้นเกิดการรั่วซึม   ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ ดูรูปๆ แรกก่อน … Read More

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ ที่จะทำการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่า มีผล และ มีความสำคัญ อย่างมากต่อการออกแบบให้อาคารหนึ่งๆ นั้นสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ นั่นก็คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ๆ จะทำการก่อสร้าง นั่นเองนะครับ   จากเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์ในอดีตแสดงให้เราเห็นได้ว่า … Read More

การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ให้ลึกถึงระดับมาตรฐาน (BLOW COUNT)

การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม และความยาวของเสาเข็มนั้น ๆ

1 136 137 138 139 140 141 142 174