บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

วิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่ และเก่าโดยไม่ใช้โฟม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยโพสต์เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนของการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่และเก่าโดยไม่ใช้โฟม แต่ ผมได้แนะนำให้เพื่อนๆ นั้นใช้เป็นวัสดุอื่นๆ แทน เช่น แผ่นสมาร์ทบอร์ด แผ่นไม้อัด เป็นต้น วันนี้ผมจึงได้นำรูปภาพจริงๆ จากการแก้ไขงานตรงนี้ของทาง … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาผมได้ทำการไลฟ์สดร่วมกันกับทีมงานของภูมิสยามฯ และในวันนั้นผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันว่าความแตกต่างระหว่างเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมีอะไรบ้าง ซึ่งผมก็เชื่อเหลือเกินว่าคงจะเพื่อนๆ หลายๆ คนที่อยู่ในแฟนเพจของเรานั้นอาจจะมีความสงสัยไม่มากก็น้อยว่าแล้วในกรณีของเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงกลมละจะมีความเหมือนหรือแตกต่างออกไปจากเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากหรือน้อยเพียงใด ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่องๆ นี้นั่นเองครับ เท้าความไปถึงเนื้อหาที่ผมได้ไลฟ์สดกันสักเล็กน้อยก่อนก็แล้วกันที่ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก เมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น BALANCE METHOD เป็นต้น เพื่อที่จะให้เหล็กเสริมเหล่านี้ไปทำหน้าที่ในการต้านทานการเกิดโมเมนต์ดัดในฐานราก หรือ ต้านทานการหดตัวในฐานรากก็ตามแต่ มาตรฐาน ACI ได้ทำการอนุญาตให้เราสามารถทำการกระจายเหล็กเสริมเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอในหน้าตัดได้ ซึ่งรวมไปถึงกรณีที่เราได้ทำการออกแบบฐานรากโดยวิธีพิเศษก็ตาม เช่น STRUT AND TIE METHOD หรือ … Read More

ชื่อของอาการเจ็บป่วย ในภาษาอังกฤษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาเอาใจเพื่อนๆ ที่ต้องมีโอกาสที่จะต้องพูดเป็นภาษาอังกฤษเกี่ยวข้องกับอาการเจ็บป่วยของตัวเองนะครับ เช่น นักเรียน หรือ นักศึกษา หรือ พนักงาน ที่ต้องลาป่วยกับครูอาจารย์ก็ดี … Read More

1 122 123 124 125 126 127 128 174