การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More
การทดสอบเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเอาไว้นะครับว่า “ในการทดสอบเสาเข็มจริงๆ นั้นเราสามารถที่จะทำการแบ่งออกได้เป็นการทดสอบเสาเข็มแบบใดได้บ้าง และ หากเราต้องการที่จะทำการทดสอบว่าเสาเข็มของเรานั้นมีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เราควรที่จะใช้วิธีการใดในการทดสอบ ?” เป็นคำถามที่ดีนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาตอบคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนท่านนี้ ซึ่งก็รวมไปถึงเพื่อนๆ ทุกๆ คนด้วยนะครับ ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE … Read More
งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ หัวข้องานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) นะครับ วันอาทิตย์วันสบายๆ แบบนี้ผมมีเทคนิคในการทำแบบวิศวกรรมโครงสร้างที่ดีอย่างหนึ่งมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ โดยหากเพื่อนๆ นำหลักการๆ นี้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อนๆ จะสามารถทำการอ่านแบบและดูรายละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างที่จะง่าย แถมการทำแบบในลักษณะนี้ยังสามารถที่จะลดความผิดพลาดในการทำงานโครงสร้างลงได้มากวิธีการหนึ่งด้วยนะครับ … Read More
การคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือน ตามแนวยาวเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบหน้าตัดเชิงประกอบ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้รับคำถามเข้ามาทางข้อความซึ่งมาจากน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามา โดยมีใจความของคำถามว่า “อยากไขข้อสงสัยเรื่องรอยเชื่อมบนโครงสร้างอเสเหล็ก จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าเป็นแบบรอยเชื่อมคานอเสแบบประกบคู่ ซึ่งในแบบได้ทำการระบุความยาวรอยของเชื่อมเอาไว้ว่าให้มีระยะความยาวของรอยเชื่อมเท่ากับ 5 CM ทุกๆ … Read More