บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

กำลังรับโมเมนต์ดัดของลวดอัดแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานที่ผมได้ตอบเพื่อนคนหนึ่งไปเกี่ยวกับเรื่องกำลังรับโมเมนต์ดัดของลวดอัดแรง 1 เส้น ที่ใช้เสริมในโครงสร้างพื้น คอร แบบไร้คานท้องเรียบ (POST-TENSIONED FLAT PLATE … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนผมได้โพสต์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการคำนวณเพื่อทำการลด นน ค่านนบรรทุกจรใช้งานในอาคาร และ ได้รับคำถามมาจากน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “รบกวนสอบถามไว้เป็นความรู้ว่าค่า KLL = 3 ใช้กับเสาต้นใน เเล้วเสาต้นนอก … Read More

การเสริมเหล็กทางด้านข้างของคาน หรือ ที่เราเรียกว่า SIDE FACE REINFORCEMENTS หรือบางครั้ง WEB REINFORCEMENT

ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1309091279136994   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามยอดฮิตคำถามหนึ่งที่ผมมักได้รับตลอดช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา ก็คือเรื่อง การเสริมเหล็กทางด้านข้างของคาน หรือ ที่เราเรียกว่า SIDE FACE REINFORCEMENTS หรือบางครั้ง WEB REINFORCEMENT นั่นเองครับ หากเราต้องทำการออกแบบคานที่มีขนาดค่อนข้างที่จะลึกๆ แต่ก็ไม่ถึงกับเข้าข่ายเป็นคานลึก (DEEP BEAM) … Read More

วิธีแก้ไข กรณีที่เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ เป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานราก ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ต่อจากเมื่อวานกันนะครับ อย่างที่ผมได้อธิบายไปเมื่อวานแล้วนะครับว่าโดยปกติแล้ว ผู้ออกแบบมักที่จะทำการออกแบบให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY กลุ่มของเสาเข็มนั้นตรงกันกับตำแหน่งของตัวเสาตอม่อ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขอมาพูดถึงวิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก … Read More

1 102 103 104 105 106 107 108 174