บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก)

เมื่อเทคอนกรีตเสร็จแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้เองแต่ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน แต่ถ้าต้องการให้คอนกรีตมีคุณภาพท่ีดี มีความแข็งแรงทนทานและใช้งานได้นานต้องทำการบ่มคอนกรีตเสียก่อน ซึ่งเมื่อผสมคอนกรีตต้องใช้น้ำในการผสม จะทำให้เกิดปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชันทำให้คอนกรีตแข็งตัวและรับกำลังได้ ปกติแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้ภายใน 5 – 6 ชั่วโมง ภายหลังจากการผสมน้ำ และมีกำลังเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเพิ่มกำลังของคอนกรีตไม่สามารถแยกได้ด้วยการดูจากตาเปล่า คือเราไม่สามารถบอกได้ว่าคอนกรีตที่เทพื้น กับคอนกรีตที่เทคาน ส่วนใดให้กำลังสูงกว่า การจะบอกว่าคอนกรีตส่วนไหนให้กำลังสูงกว่าต้องนำไปทดสอบโดยการกดให้แตก แล้ววัดว่าคอนกรีตดังกล่าวรับกำลังได้มากน้อยเพียงใด แม้ว่าคอนกรีตต้องการน้ำในส่วนผสมเพื่อทำปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ให้มากและสมบูรณ์ท่ีสุด … Read More

การดำเนินการหาผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์โดยอาศัยกฎของลำดับในการคำนวณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่ใจความของโจทย์ปัญหาข้อนี้ก็คือ เพื่อนๆ คงจะพอทราบกันว่าในการคำนวณด้วยกรรมวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้น “พื้นฐาน” เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น จะมีขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเพื่อหาผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์โดยอาศัย “กฎ” ในการคำนวณ ซึ่งจะว่าไปแล้วหากดูภาพโดยรวมแล้วเราก็อาจจะพบได้ว่ากฎดังกล่าวเองก็มีอยู่ค่อนข้างจะหลากหลายอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงขอถามเพื่อนๆ ว่า … Read More

หลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง 3 รูปแบบนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันต่อจากโพสต์ของเมื่อ … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก เมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น BALANCE METHOD เป็นต้น เพื่อที่จะให้เหล็กเสริมเหล่านี้ไปทำหน้าที่ในการต้านทานการเกิดโมเมนต์ดัดในฐานราก หรือ ต้านทานการหดตัวในฐานรากก็ตามแต่ มาตรฐาน ACI ได้ทำการอนุญาตให้เราสามารถทำการกระจายเหล็กเสริมเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอในหน้าตัดได้ ซึ่งรวมไปถึงกรณีที่เราได้ทำการออกแบบฐานรากโดยวิธีพิเศษก็ตาม เช่น STRUT AND TIE METHOD หรือ … Read More

1 101 102 103 104 105 106 107 174