เทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูปเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ถือได้ว่าความสำคัญของเทคนิคนี้มีอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียวมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ นั่นก็คือผมจะมาให้คำแนะนำว่าเราไม่ควรที่จะใช้โครงสร้าง คสล ในกรณีที่ทางสถาปนิกเลือกทำการออกแบบให้ในตัวบ้านหรืออาคารนั้นมีการตกแต่งด้วยปูนปั้น … Read More
ความรู้พื้นฐานทางด้าน การออกแบบโครงสร้าง คอร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันอาทิตย์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องความรู้พื้นฐานทางด้าน การออกแบบโครงสร้าง คอร นั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า ผมได้ทำการหล่อเสาเข็ม คอร ขึ้นมา 1 ท่อน ซึ่งเสาเข็มต้นนี้มีความยาวเท่ากับ L หากผมต้องการที่จะทำการใช้เครนเพื่อทำการยกเสาเข็มท่อนนี้ดังรูปที่เพื่อนๆ เห็น ผมควรที่จะทำการยกที่ระยะเท่าใดจากปลายของเสาเข็มทั้ง … Read More
วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาที่ผมได้แชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากผลการทดสอบดินพบว่า ชั้นดินในบริเวณที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดินนี้เป็นดินประเภท SILTY CLAY ซึ่งก็จะพบว่ามีค่า POISSON’S RATIO … Read More
ตอบปัญหาการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดโดยพิจารณาจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มในการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินที่อยู่ข้างล่างและโครงสร้างเสาเข็มนั้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 300 MM ทั้งนี้ผมจะขอสมมติว่าในขั้นตอนการคำนวณนี้เป็นเพียงขั้นตอนในการคำนวณออกแบบเริ่มแรกซึ่งยังไม่ได้มีการคำนวณหาระยะความหนาของฐานรากออกมา หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากนี้โดยที่ผมจะอาศัยสมมติฐานว่าฐานรากของผมนั้นเป็นแบบ … Read More